Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 6 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
โภชนาการสำหรับวัยผู้ใหญ่ (Nutrition in Adult) วัยผู้ใหญ่ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ20-59ปี
โภชนาการในวัยผู้ใหญ่
วัยนี้ร่างกายจะไม่มีกาีเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโต แต่ยังมีการเสริมสร้างเซลล์ต่างๆเพื่อนักษาสมรรถภาพการทำงานในร่างกายให้คงที่
ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนการดี สามารถทำให้อายุขัยยืนยาว มีชีวิตที่มีคุณภาพ และเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรง
เมื่ออายุมากกว่า 40ปีขึ้นไป จะมีปัญหาเรื่อง น้ำหนักเกิน>>ทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ่
พลังงาน
ผู้ชายต้องการพลังงานมากกว่าผู้หญิงเพราะในผู้หญิงมีน้ำหนักน้อยกว่าและทำกิจกรรมน้อยกว่าผู้ชาย ถ้าได้รับพลังงานจากอาหารมากแต่ใช้แรงงานในการทำกิจกิจกรรมน้อย>>น้ำหนักก็จะเพิ่มมากขึ้น
พลังงานทั้งหมด=คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 +โปรตีนร้อยละ 15 +ไขมันร้อยละ 30
โปรตีน
วัยนี้ต้องการโปรตีนเพื่อเสริมสร้างเซลล์ต่างๆในทำงานปกติ
น้ำ
ต้องการประมาณ 1,500-2,000 ml/day
วิตามินและเกลือแร่
วัยนี้มีความต้องการพอๆกับวัยรุ่น ยกเว้น เเคลเซียมและฟอสฟอรัสต้องการน้อยลงเหลือ 800 mg/day เนื่องจากในระยะนี้ไม่มีการสร้างกระดูกเพิ่มขึ้น
วัยทอง (Golden period)
มีการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธ์ุ
อาจมีอาการกระดูกพรุน กระดูกเปราะ หักง่าย
มีอาการร้อนวูบวาบ
มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
วัยทอง หมายถึง วัยหมดประจำเดือน (Menopausal period)
อาหารของสตรีวัยทอง
ควรรับประทานอาหารประเภท ถั่วต่างๆ เมล็ดธัญพืช ข้าวซ้อมมือ ปลา ผัก และผลไม่สด
อาหารประเภทถั่วเหลืองมี phytoestrogen ช่วยบรรเทาอาการช่องคลอดแห้ง และโรคกระดูกพรุ่นได้
ถั่ว >>เป็นแหล่งโปรตีน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม วิตามิน B complex สังกะสิและเหล็ก บรรเทาอาการประจำเดือนมาผิดปกติได้
เมล็ดธัญพืชทั้งเปลือก มี phytoestrogen และเส้นใยสูง
ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนัง ช่องคลอด เยื่อบุช่องคลอด
พบในเมล็ดฟักทอง เมล็ดงา เมล็ดทานตะวัน น้ำมันอิฟนิ่งพริมโรส และกรดไลโนเลอิก
ช่วยควบคุมระกับ cholesterol และ estrogen
ควรหลีกเลี่ยง
น้ำตาล >>ลดการกักเก็บวิตามิน B complex และแร่ธาตุที่จำเป็น >>อาการตึงเครียด
เนื้อสัตว์ติดมัน >>อ้วน
แอลกอฮอล์ จะไปกดประสาทส่วนกลาง >>เหนื่อยล้า และซึมเศร้า
เครื่องในสัตว์>>โรคข้ออักเสบ
อาหารที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม และช็อกโกแลต>> อาการกระวนกระวาย และมีการแปรปรวนของอารมณ์
อาหารที่มีเกลือ และอาหารที่มีโซเดียมสูง >>อาการบวม และความดันโลหิตสูง
โภชนาการสำหรับวัยผู้สูงอายุ (Nutrition in the elderly) วัยผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60ปีขึ้นไป
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง ได้แก่ การมองเห็น การรับรส การดมกลิ่น การได้ยิน และการสัมผัส
ลดลงเมื่ออายุ 60ปี และรุนแรงขึ้งเมื่ออายุ 70ปี โดยเฉพาะการรับรสหวานและรสเค็ม
ภาวะสุขภาพปากและฟัน >>ฟันผุหรือไม่มีฟัน/ต่อมน้ำลายทำงานลดลง>>การบดเคี้ยว
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง>>ท้องผูกย่อยโปรตีนได้น้อยลง
การดูดซึมเหล็ก แคลเซียม และวิตตามิน B12 น้อยลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกูลโคสลดลง เนื่องจากตับอ่อนหลั่งอินซูลินได้น้อยลง เเละเนื้อเยื่อต่อต้านการทำงานของอินซูลิน>>ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
การทำงานของระบบไหลเวียนและไตลดลง >>ความสามารถในการขับของเสียลดลง
กล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆ และเนื้อเยื่อกระดูกลดลง>>โปรตีนในร่างกายลดลง
เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40ปีขึ้นไป เนื่องจาก ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนที่มีผลต่อการทำงานของแคลเซียมและวิตามินD>>กระดูกหักง่าย
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและจิตสังคม (ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวจะรับประทานอาหารได้น้อยลง)
ตวามต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ไขมัน
ควรลดปริมาณไขมันที่บริโภค โดยเฉพาะกรดไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอล เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
ความต้องการไขมันในผู้สูงอายุไม่ควรเกืนร้อยละ 30ของพลังงานทั้งหมด
โปรตีน
มีความสำคัญในกสรสร้างและคงสภาพของเนื้อเยื่อในร่างกาย
เป็นแหล่งกรดอะมิโนที่จำเป็นของกล้ามเนื้อ ระบบประสาท และภูมิต้านทาน
ความต้องการโปรตีนจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อร่างกายมีความเครียดจากการบาดเจ็บ การติดเชื้อ การผ่าตัด หรือการเจ็บป่วย
ควรดื่มนมวันละ1แก้ว
รับประทานไข่อาทิตย์ละ3ฟอง
พลังงาน
ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว
ข้อกำหนดความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันของผู้สูงอายุ>>กำหนดให้ผู้สูงอายุชาย/หญิงได้รับพลังงานจากอาหาร ไม่เกินวันละ 2,250และ1,850 kcalหรือ30 kcal/kgทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกิจกรรม
คาร์โบไฮเดรต
ผู้สมีโอกาสเกิด ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโรคเบาหวาน
อาหารที่มีน้ำตาลทรายต่ำ/มีคาร์โบไฮเดรตเชิงช้อน/ใยอาหารที่ละลายน้ำสูง>>ร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินดีขึ้น
ผู้สจะมีเอนไซม์ lactase ลดลง >>ภาวะท้องอืด ท้องเสีย และเป็นตะคริวเมื่อดื่มนม(ควรบริโภคนมเปรี้ยวหรือโยฟเกิร์ตแทน)
วิตามินA
ผู้สูงอายุต้องการ700และต้องการ600
วิตมามินD
มีความสำคัญในการสร้างกระดูก(ช่วยดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสที่ลำไส้ผู้สูงอายุชายและหญิงควรได้รับ วันละ5
วิตามินE
A
Antioxidation/ชะลอกระบวนการแก่ และป้องกันการเกิดมะเร็งผู้สูงอายุชายและหญิงควรได้รับ วันละ 10 และ8 mg
วิตามินK
พบในผักใบเขียว ผลไม้ ธัญพืช เนื้อ นมและสังเคราะห์จากแบคทีเรียในลำไส้ผู้สูงอายุชายเเละหญิงควรได้รับวันละ 80 และ 60
วิตามินC
จำเป็นต่อการสร้างกระดูก เลือด และคลอลาเจน>>ผู้สูงอายุชายและหญิง ควรได้รับ วันละ 60mg
วิตามินB6
เป็นโคเอนของกรดอะมิโน ถ้าขาดจะทำให้เกิดอาการชาและซีดผู้สูงอายุชายและหญิง ควรได้รับ วันละ 2.2และ 2.0 mg
วิตามิน B12
จำเป็นในการสังเคราะห์ DNA ถ้าขาดจะทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติและมีความสำคัญในการคงสภาพของ myelin ของเนื้อเยื่อประสาทผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุชายและหญิง ควรได้รับ วันละ 2.0
โฟเลต
จำเป็นในการสังเคราะห์ DNA ถ้าขาดจะทำให้เกิดภาวะซีดผู้สูงอายุชายและหญิง ต้องการ วันละ 175 และ 150
แคลเซียม
ผู้สจะสูญเสียเนื้อกระดูก (Osteoporosis)โดยเฉพาะผู้หญิงความต้องการสำหรับวัยหมดประจำเดือนวันละ1,000-1,500mg
เหล็ก
การขาดธาตุเหล็กในผู้สูงอายุมีสาเหตุมาจากการได้รับเหล็กไม่เพียงพอ ผู้สูงอายุชายและหญิงต้องการวันละ10 mg
สังกะสี
ช่วยส่งเสริมการได้รับกลิ่น การรับรส ความอยากอาหารดีขึ้น และส่งเสริมการหายของแผล ผู้สูงอายุชายและหญิง ต้องการวันละ 25 mg