Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 6
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
วัยก่อนเรียน
โภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน
ในระยะแรกๆ ของวัยนี้การเจริญเติบโตค่อนข้างเร็วและจะช้าลงเมื่ออายุมากขึ้น
หากขาดสารอาหาร จะทำให้ความเจริญเติบโตหยุชะงัก ร่างกายอ่อนแอขาดภูมิต้านทานโรค ป่วยบ่อย
ความต้องการสารอาหารของเด็กวัยก่อนเรียน
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ต้องจัดอาหารให้เพียงพอ และให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
ลักษณะและรสชาติต้องจืด อร่อย ไม่เค็มจัด หรือหวานจัดเกินไป
วัยทารก
โภชนาการของวัยทารก
เมื่ออายุ 4-5 เดือน ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของน้ำหนักแรกเกิด
เมื่ออายุ 1 ปี น้ำหนักควรเพิ่มเป็น 3 เท่าของน้ำหนักแรกเกิด
การได้รับอาหารที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญต่อพัฒนาการ
และการเจริญเติบโตของทารก
ความต้องการสารอาหารในทารก
▪ แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
▪ หลังจาก 6 เดือนถึงขวบปีแรก ทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนมแม่
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
นมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
หลังจากนั้นจึงเริ่มให้อาหารเสริม นมแม่มีความสำคัญและประโยชน์
ความพร้อมในการให้อาหารสำหรับทารก
ความพร้อมของระบบทางเดินอาหาร
ความพร้อมของไต อัตราการกรองของไตของทารก = ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่
ความพร้อมของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ข้อแนะนำการให้อาหารสำหรับทารก
ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ต้องให้อาหารอื่นแม้แต่น้ำ
เริ่มให้อาหารเสริมเมื่อ อายุครบ 6 เดือน เต็มควบคู่ไปกับนมแม่
เมื่อลูกอายุ 10-12 เดือน ให้อาหารที่มีคุณภาพและครบ 5 หมู่ทุกวัน
งดเครื่องดื่มรสหวานและน้ าอัดลม
การแพ้อาหารในทารก
การแพ้โปรตีนในนมวัวมักเกิดในช่วงอายุ 1-4 เดือน
เด็กอายุต่ ากว่าอายุ 7 เดือน >> แพ้ไข่ขาว (ผื่นที่แก้มทั้ง 2 ข้างภายใน 1-2 สัปดาห
การแพ้สารกลูเตน (โปรตีนในอาหารที่ทำจากข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ ข้าวโอ๊ต)
แพ้นมผสม ถั่วลิสง ช็อกโกแลต หรืออาหารทะเล
การเลือกอาหารสำหรับทารก
ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลาย
ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี
ไม่ควรให้อาหารรสหวานจัด มันจัด เค็มจัด
หลีกเลี่ยง ขนมที่มีรสหวานจัด มันจัดเค็มจัด และขนมที่เหนียวติดฟัน
วัยรุ่น
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
ทำให้ความต้องการสารอาหารมากขึ้น
วัยรุ่นจะรู้สึกหิวบ่อยและรับประทานอาหารมากขึ้น
วัยรุ่นชายจะรับประทานอาหารมากกว่าวัยรุ่นหญิง
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
พลังงาน
▪ วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
▪ วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
โปรตีน
▪ ควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg
▪ ปัจจุบันมีการกำหนดความต้องการโปรตีนตามความสูงของวัยรุ่น
น้ำ
▪ ควรดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
วิตามิน
▪ วิตามิน A >> ใช้ในการเจริญเติบโตและคงสภาพเยื่อบุต่างๆ
▪ วิตามิน B2 >> เป็นเอนไซม์ในการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
▪ วิตามิน C >> เป็นส่วนประกอบของเซลล์ใช้ในการสร้างคอลลาเจน
เกลือแร่
▪ แคลเซียมและฟอสฟอรัส
▪ ธาตุเหล็ก >> ร่างกายต้องการเหล็กมากขึ้น โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิงในระยะมีประจำเดือน
▪ ไอโอดีน >> ต่อมไธรอยด์มีการผลิตฮอร์โมนมากขึ้น >> ต้องการไอโอดีนมากขึ้น
ความสำคัญของอาหารในเด็กวัยรุ่น
หากงดมื้อใดมื้อหนึ่ง เช่น งดมื้อเช้า จะทำให้ขาดสารอาหาร
ที่ร่างกายควรได้รับไปอย่างน้อย 1 ใน 3 ของความต้องการทั้งวัน
เด็กวัยรุ่นที่ต้องการควบคุมน้ าหนัก
** ควรกินอาหารทุกมื้อและถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่น
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นชายใน 1 วัน (2,300 kcal)
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นหญิงใน 1 วัน (1,850 kcal)
หญิงตั้งครรภ์
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
ไม่ใช่การเจ็บป่วย
มีการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายต้องการสารอาหารมากขึ้น
หากได้รับอาหารไม่เพียงพอ >> มีผลเสียต่อมารดาและทารกในครรภ์
มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
น้ำหนักแรกคลอดของทารกต่ำ
(น้อยกว่า 2,500 กรัม)
ทารกที่อยู่ในครรภ์และวัยทารก >> ขาดอาหาร >> มีผลต่อการเจริญเติบโตของสมอง
เด็กขวบปีแรก >> ขาดอาหาร
การเจริญเติบโตของสมองช้ากว่าปกต
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระของหญิงตั้งครรภ์
มดลูกเพิ่มความจุ
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
อาการคลื่นไส้อาเจียน
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
เกณฑ์การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวที่เหมาะสมในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคอ้วน
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7-8 kg
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกิน
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 10 kg
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวปกติ และวางแผนที่จะให้นมบุตรหลังคลอด
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12 kg
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่น (อายุ <18 ปี) หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่าร้อยละ 90
ของน้ำหนักมาตรฐาน
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 14-15 kg
หญิงตั้งครรภ์ที่มีลูกแฝด
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 18 kg
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
สารอาหารที่ให้พลังงาน
หญิงมีครรภ์ต้องการพลังงานเพิ่ม 80,000 kcal หรือประมาณ 300
กิโลแคลอรี่ต่อวัน (วันละ 2,050 kcal)
ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน (จากเนื้อสัตว์ นม ไข่ ข้าว)
ควรหลีกเลี่ยง ขนมหวานจัด น้ำอัดลม อาหารที่มีไขมันมาก ได้แก่ อาหารทอด
หมูติดมันกะทิ (ให้พลังงานสูง >> น้ำหนักเพิ่มมากเกินไป)
โปรตีน (Protein)
ช่วง 3 เดือน
ก่อนคลอดถึง 6 เดือนหลังคลอด >> มีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ของเด็ก
แคลเซียม (Calcium)
ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ
จะมีการดึงแคลเซียมจากกระดูกแม่เพื่อนนำไป
สร้างกระดูกและฟันของทารก
วันละ 1,200 mg เพิ่มจากปกติซึ่งได้รับ 800 mg/day ได้แก่ นม กุ้งแห้ง ปลาเล็กปลาน้อย นมถั่วเหลือง เต้าห
ธาตุเหล็ก (Iron)
แม่ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ >>
โรคโลหิตจาง /โรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และคลอด
ไอโอดีน (Iodine)
ความต้องการไอโอดีนเพิ่มขึ้น
ถ้าได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอ >> แม่เป็นโรคคอพอก >> ทารกขาดไอโอดีน >> มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของร่างกาย >> ทารกที่เกิดมาตัวเล็กแกร็นและมีสติปัญญาต่ำ (Cretinism)
ควรได้รับไอโอดีนวันละ 175 μgได้แก่ อาหารทะเลต่างๆ
ควรใช้เกลือชนิดที่มีไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกวัน
โฟเลท (Folate)
ขาดโฟเลท การเจริญเติบโตของเซลล์และการแบ่งเซลล์บกพร่อง
จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง ควรได้รับโฟเลทวันละ 500 μg
วิตามิน B6
เพิ่มจากเดิมวันละ 0.6 mg เป็นวันละ 2.6 mg
วิตามิน C
ควรได้รับวิตามิน C เพิ่มเป็นวันละ 80 mg
วิตามิน A
ควรได้รับวิตามินเอวันละ 800 μgRE
ควรหลีกเลี่ยงการเสริม
วิตามิน A ในระยะ 3 แรกของการตั้งครรภ์
วิตามิน D
มารดาที่ขาดวิตามิน D >> ทารกในครรภ์เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ(Neonatal Hypocalcemia)
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
. เนื้อสัตว์
วันละ 120-180 กรัมหรือประมาณ 1/2-3/4 ถ้วยตวง หรือมื้อละ 3-4 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 มื้อ
นม
ควรดื่มนมไขมันต่ำวันละ 1-2 แก้ว หรือดื่มนมถั่วเหลืองแทน
ผลไม้
ควรกินผลไม้ทุกวันๆ ละ 2-4 ครั้งได้แก่ มะละกอสุก สับประรด กล้วย
ไข่
ควรกินไข่วันละ 1 ฟองเป็นประจำ
ผัก
ควรกินผักใบเขียวทุกวัน ในปริมาณไม่จำกัด หรืออย่างน้อยวันละ 2-3 ถ้วยตวง
ถั่วเมล็ดต่างๆ
ควรกินถั่วที่สุกวันละ 1/2 ถ้วยตวง เช่น ถั่วเหลือง
ไขมันหรือน้ำมัน
ควรบริโภคในระดับปานกลาง
น้ำ
ควรดื่มน้ าวันละ 1,500-2,000 มล. หรือ 6-8 แก้ว
ความต้องการด้านโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
วัยผู้ใหญ่
โภชนาการในวัยผู้ใหญ่
ไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโต แต่ยังมีการเสริมสร้างเซลล์ต่างๆ
ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการดี สามารถทำให้อายุขัยยืนยาว มีชีวิตที่มีคุณภาพ และเข้าสู่วัย
สูงอายุอย่างมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรง
เมื่ออายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป จะมีปัญหาเรื่อง
น้ำหนักเกิน >> ทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น
เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ่
พลังงาน
พลังงานทั้งหมด = คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 + โปรตีนร้อยละ 15 + ไขมันร้อยละ 30
โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg
วิตามินและเกลือแร่
แคลเซียมและฟอสฟอรัสต้องการน้อยลงเหลือ
800 mg/day เนื่องจากในระยะนี้ไม่มีการสร้างกระดูกเพิ่มขึ้น
ผู้ชายต้องการเหล็กลดลงเหลือ 10.4 ในขณะที่ ผู้หญิงต้องการเท่าเดิมจนกว่าจะถึงวัยหมดประจำเดือน
น้ำ
ต้องการประมาณ 1,500-2,000 ml/day
พลังงานและสารอาหารที่อ้างอิง
ที่ควรได้รับประจำวันของวัยผู้ใหญ่
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับวัยผู้ใหญ่
วัยเรียน
โภชนาการของเด็กวัยเรียน
วัยเรียนตอนต้นจะเป็นไปอย่างช้าๆ ในช่วงวัยเรียนตอนปลาย
อัตราการเจริญเติบโตของร่างกายจะสูงมากอีกครั้ง
การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ สมอง และระบบประสาทจะไม่มีการเจริญเติบโตเพิ่มขนาด
แต่จะมีพัฒนาการด้านการเสริมสร้างเชาวน์ปัญญา
ความต้องการสารอาหารของเด็กวัยเรียน
พลังงาน ขึ้นกับอัตราการเจริญเติบโตและกิจกรรมที่ทำอาจคำนวณได้จากน้ำหนัก
ตัวอย่าง เด็กคนหนึ่งน้ าหนัก 40 กิโลกรัม จะความต้องการพลังงานเท่าใด
(10 x 100) + (20 x 50) + (10 x 20) = 2,200 Kcal/วัน
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
ฝึกให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท ไม่ควรตามใจหรือ
ให้อาหารเป็นสิ่งต่อรองให้เป็นรางวัลหรือท าโทษ
วัยผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง ได้แก่ การมองเห็น การรับรส การดมกลิ่น
การได้ยิน และการสัมผัส
ภาวะสุขภาพปากและฟัน >> ฟันผุหรือไม่มีฟัน / ต่อมน้ำลายทำงานลดลง >> การบดเคี้ยว
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง >> ท้องผูก ย่อยโปรตีนได้น้อยลง
** การดูดซึมเหล็ก แคลเซียม และวิตามิน B12 น้อยลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
การท างานของระบบไหลเวียนและไตลดลง
กล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆ และเนื้อเยื่อกระดูกลดลง
เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและจิตสังคม (ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวจะรับประทานอาหารได้น้อยลง)
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
พลังงาน
ผู้สูงอายุชาย / หญิงได้รับพลังงานจากอาหาร ไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 kcal หรือ
30 kcal/kg ** ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกิจกรรม
โปรตีน
ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีน 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg/day
ไขมัน
ความต้องการไขมันในผู้สูงอายุไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
คาร์โบไอเดรต
ควรได้รับร้อยละ 55 ของพลังงานทั้งหมด
ถ้าได้รับน้อยกว่า 50-100 กรัมต่อวัน >>
เกิดการคั่งของ Ketone body (Ketosis)
การสลายไขมันมาใช้เป็นพลังงานมากเกินไป
วิตามิน
A D E K C B6 B12
6.โฟเลต
ถ้าขาดจะทำให้เกิดภาวะซีด
7.แคลเซียม
8.เหล็ก
9.สังกะสี
หญิงให้นมบุตร
โภชนาการสำหรับหญิงหลัง
คลอดและให้นมบุตร
อาหารของแม่ในระยะให้นมบุตร
คล้ายกับระยะตั้งครรภ์
อาจพบแร่ธาตุในมวลกระดูกลดลง
ความต้องการวิตามินและแร่ธาตุ
บางชนิดเพิ่มขึ้น
วิตามิน A, C,
B6, folate
ความต้องการของสารอาหารในระยะให้นมบุตร
พลังงาน
ร่างกายต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการผลิตน้ำนม วันละ 500 kcal
แคลเซียม (Ca)
ควรได้รับแคลเซียม 1,200 mg/day ถ้าแม่ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ >> แคลเซียมจากกระดูกของแม่จะถูกดึงมาใช้
ธาตุเหล็ก (Iron)
ระยะให้นมบุตรแม่จะต้องการธาตุเหล็กจากอาหารวันละ 15 mg
โปรตีน (Protein)
เพิ่มขึ้น 25 g/day >> ใช้ผลิตน้ำนมและซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของแม
ไอโอดีน (Iodine)
ป้องกันการขาดและให้ทารกได้รับไอโอดีนที่เพียงพอ เพิ่มอีกวันละ 50 μg
วิตามิน (Vitamins)
▪ วิตามิน A เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของน้ำนม แม่ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 375 μg
▪ วิตามิน D ควรได้รับในปริมาณที่ปกติเท่ากับก่อนตั้งครรภ์ คือ 5 μg (ไข่แดง ตับปลา)
▪ วิตามิน B1 ควรได้รับเพิ่มอีก 0.3 mg (เนื้อหมู ถั่วเมล็ดแห้ง)
▪ วิตามิน B2 ควรได้รับเพิ่มอีก 0.5 mg (เนื้อสัตว์ ตับ ไข่ ถั่ว ผักใบเขียว)
▪ วิตามิน C ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 35 mg (ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว)
โฟเลท (Folate)
ระยะให้นมบุตร ต้องการวันละ 500 μg
น้ำ (Water)
แม่ควรดื่มน้ำให้มากขึ้น วันละ 8-10 แก้ว เพื่อให้การหลั่งน้ำนมมากขึ้น
ปัญหาโภชนาการในหญิง
ให้นมบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง
ความยากจน
นิสัยการบริโภคไม่ดี
ขาดความรู้ด้านโภชนาการ
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงให้นมบุตร
ประเภทของอาหาร
▪ เนื้อสัตว์ >> ควรเป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือมีมันน้อย เช่น เนื้อปลา ไก่ หมู
▪ ควรกินวันละ 1 ฟอง
▪ ดื่มนมสด อย่างน้อยวันละ 2 แก้วหรือมากกว่า
▪ รับประทานผัก อย่างน้อยวันละ 6 ทัพพี
▪ ผลไม้ เช่น ส้ม มะละกอสุก สับประรด ฝรั่ง กล้วย อย่างน้อยวันละ 6 ส่วน
▪ ไขมันหรือน้ ามัน ควรรับประทานวันละ 3 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลไม่เกินวันละ 5 ชัอนชา
▪ ข้าวและแป้งชนิดต่างๆ ควรได้รับวันละ 9-10 ทัพพี
ข้อแนะนำเกี่ยวกับอาหารในหญิงให้นมบุตร
▪ กินอาหารครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
▪ หลีกเลี่ยง เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึง เหล้าดองยา ชา กาแฟ
▪ หลีกเลี่ยง การกินขนมหวานต่างๆ อาหารทอด อาหารมัน
▪ ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนรับประทานยา
ความต้องการด้านโภชนาการในระยะให้นมบุตร