Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 6
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
หญิงตั้งครรภ์
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
สารอาหารที่ให้พลังงาน
ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน
หญิงมีครรภ์ต้องการพลังงานเพิ่ม 80,000 kcal หรือประมาณ 300
กิโลแคลอรี่ต่อวัน (วันละ 2,050 kcal)
เพื่อใช้ในการเสริมสร้างอวัยวะต่างๆ ของทารก / เนื้อเยื่อต่างๆ ของแม่ / การทำงานของ
อวัยวะต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น
โปรตีน (Protein)
แนะนำให้กินอาหารโปรตีนเพิ่มขึ้นจากภาวะปกติ 10-14 กรัมต่อวัน
(เพิ่มนม 2 ถ้วยตวง หรือเนื้อสัตว์ 60 g)
เป็นโปรตีนที่มี
คุณภาพดีมีกรดอะมิโนที่จำเป็นครบ ได้แก่ เนื้อ นม ไข่ และปลา
การได้รับโปรตีนเพียงพอมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองทารก
แคลเซียม (Calcium)
เพื่อใช้ในการสร้างกระดูกและฟันของทารก และสะสมไว้ใช้
ในระยะให้นมบุตร
ควรได้รับแคลเซียม วันละ 1,200 mg เพิ่มจากปกติซึ่งได้รับ 800 mg/day
อาหารที่ให้แคลเซียมสูง ได้แก่ นม กุ้งแห้ง ปลาเล็กปลาน้อย นมถั่วเหลือง เต้าหู้
ธาตุเหล็ก (Iron)
เพื่อใช้ในการสร้างเม็ดเลือดแดงและสะสมไว้ใช้สำหรับแม่ใน
ระยะคลอด ถ้าแม่ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ >> โรคโลหิตจาง /โรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และคลอด
อาหารที่มีเหล็ก ได้แก่ ตับ ม้าม ไต เลือด ไข่แดง เนื้อแดง ผักใบเขียว
(วันละ 60 mg) ** ควรกินควบคู่กับอาหารที่มีวิตามินซีสูง เพื่อช่วยดูดซึมธาตุเหล็ก
ไอโอดีน (Iodine)
ถ้าได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอ >> แม่เป็นโรคคอพอก >> ทารกขาดไอโอดีน >> มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย >> ทารกที่เกิดมาตัวเล็กแกร็นและมีสติปัญญาต่ า (Cretinism)
ควรได้รับไอโอดีนวันละ 175 μg
อาหารที่มีไอโอดีนสูง ได้แก่ อาหารทะเลต่างๆ / ควรใช้เกลือชนิดที่มีไอโอดีนในการปรุง
อาหารทุกวัน
โฟเลท (Folate)
การขาดโฟเลท >> การเจริญเติบโตของเซลล์และการแบ่งเซลล์บกพร่อง >> เป็นสาเหตุที่
ทำให้ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
อาหารที่มีโฟเลทสูง ได้แก่ ผลไม้ ผักใบเขียว ถั่ว
ควรได้รับโฟเลทวันละ 500 μg (เพิ่มจากปกติซึ่งได้รับ 150 μg)
วิตามิน B6
วันละ 2.6 m
ช่วยในการเผาผลาญและสังเคราะห์กรดอะมิโน ช่วยสังเคราะห์ heme
วิตามิน C
วันละ 80 mg
การขาดวิตามิน C มีความสัมพันธ์กับการเกิดครรภ์เป็นพิษ (preeclampsia) และ
ภาวะน้ำเดินก่อนก าหนด
วิตามิน A
วันละ 800 μgRE
การได้รับมากเกินไปอาจท าให้ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
วิตามิน D
วันละ 10 mg
มารดาที่ขาดวิตามิน D >> ทารกในครรภ์เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ถ้าได้รับมากเกินไปอาจทำให้ทารกมีภาวะแคลเซียมในเลือดสูงอย่างรุนแรงเป็นอันตรายได้
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
เนื้อสัตว์
วันละ 120-180 กรัม
หรือประมาณ 1/2-3/4 ถ้วยตวง หรือมื้อละ 3-4 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 มื้อ
นม
นมไขมันต่ำวันละ 1-2 แก้ว หรือดื่มนมถั่วเหลืองแทน
ไข่
วันละ 1 ฟองเป็นประจำ
ผลไม้
ทุกวันๆ ละ 2-4 ครั้ง
ผัก
ควรกินผักใบเขียวทุกวัน ในปริมาณไม่จำกัด หรืออย่างน้อยวันละ 2-3 ถ้วยตวง
ถั่วเมล็ดต่างๆ
ควรกินถั่วที่สุกวันละ 1/2 ถ้วยตวง
ไขมันหรือน้ำมัน
ควรบริโภคในระดับปานกลาง
น้ำ
วันละ 1,500-2,000 มล. หรือ 6-8 แก้ว
ความต้องการด้านโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
ปริมาณอาหาร
ข้าว 9 ส่วน
นมพร่องมันเนย 2ส่วน
เนื้อสัตว์ (สุก) 6 ส่วน
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 ส่วน
ไขมัน 6 ส่วน
น้ำตาล 25 กรัม
หญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
ความต้องการของสารอาหารในระยะให้นมบุตร
พลังงาน
ร่างกายต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการผลิตน้ำนมสำหรับทารก
ควรได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500 kcal
ควรกินอาหารประเภท ข้าว / แป้ง / เนื้อสัตว์ / นม / ไข่ เป็นส่วนใหญ่
โปรตีน (Protein)
ควรได้รับโปรตีน เพิ่มขึ้น 25 g/day >> ใช้ผลิตน้ำนมและซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของแม่
ที่สูญเสียไประหว่างคลอด
ควรเลือกโปรตีนคุณภาพดี ไขมันต่ า เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ปลา ถั่ว เต้าหู้ ไข่ นม
แคลเซียม (Ca)
ต้องการแคลเซียมมากเพื่อใช้ในการสร้างน้ำนมสำหรับทารก
ควรได้รับแคลเซียม 1,200 mg/day
ถ้าแม่ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ >> แคลเซียมจากกระดูกของแม่จะถูกดึงมาใช้
ธาตุเหล็ก (Iron)
แม่จะต้องการธาตุเหล็กจากอาหารวันละ 15 mg
เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว
ไอโอดีน (Iodine)
แม่ควรได้รับไอโอดีนให้เพียงพอ >> ป้องกันการขาดและให้ทารกได้รับไอโอดีนที่เพียงพอ
ควรได้รับไอโอดีน เพิ่มอีกวันละ 50 μg
วิตามิน (Vitamins)
วิตามิน A
วิตามิน D
วิตามิน B1
วิตามิน B2
วิตามิน C
โฟเลท (Folate)
ต้องการวันละ 500 μg
ตับ ผักใบเขียว บร็อคโครี่ มันเทศ ขนมปังที่ทำจากข้าวสาลี
น้ำ (Water)
วันละ 8-10 แก้ว
แม่ควรดื่มน้ำให้มากเพื่อให้การหลั่งน้ำนมมากขึ้น
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงให้นมบุตร
เนื้อสัตว์
ควรเป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือมีมันน้อย เช่น เนื้อปลา ไก่ หมู
ควรได้รับประมาณ 180-240 กรัมต่อวัน หรือวันละ 1/2-1 ถ้วยตวง
ไข่
ควรกินวันละ 1 ฟอง
ดื่มนมสด
อย่างน้อยวันละ 2 แก้วหรือมากกว่า
ผัก
อย่างน้อยวันละ 6 ทัพพี
ผลไม้
อย่างน้อยวันละ 6 ส่วน
ไขมันหรือน้ำมัน
ควรรับประทานวันละ 3 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลไม่เกินวันละ 5 ชัอนชา
ข้าวและแป้งชนิดต่างๆ
ควรได้รับวันละ 9-10 ทัพพี
ความต้องการด้านโภชนาการในระยะให้นมบุตร
ปริมาณอาหาร
ข้าว 10 ส่วน
นมพร่องมันเนย 2ส่วน
เนื้อสัตว์ (สุก) 7 ส่วน
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 5 ส่วน
ไขมัน 6 ส่วน
น้ำตาล 25 กรัม
วัยทารก เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 1 ปี
ความต้องการสารอาหารในทารก
▪ แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
▪ หลังจาก 6 เดือนถึงขวบปีแรก ทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับ
นมแม่
ความพร้อมในการให้อาหารสำหรับทารก
ความพร้อมของระบบทางเดินอาหาร
ความพร้อมของไต
ความพร้อมของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ข้อแนะนำการให้อาหารสำหรับทารก
▪ ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ต้องให้อาหารอื่นแม้แต่น้ำ
▪ เริ่มให้อาหารเสริมเมื่อ อายุครบ 6 เดือน เต็มควบคู่ไปกับนมแม่
▪ เนื้อสัมผัสอาหาร >> จัดให้เหมาะสมกับพัฒนาการของทารก (เริ่มจากอาหารเหลว กึ่ง
เหลว กึ่งแข็ง อ่อนนิ่ม และหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ)
▪ ให้ดื่มน้ำสะอาด
การแพ้อาหารในทารก
▪ การแพ้โปรตีนส่วนใหญ่มีทั้งในรูปของนม (วัว) และอาหารเสริม
▪ เด็กอายุต่ำกว่าอายุ 7 เดือน >> แพ้ไข่ขาว
▪ การแพ้สารกลูเตน (โปรตีนในอาหารที่ท าจากข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ ข้าวโอ๊ต)
▪ แพ้นมผสม ถั่วลิสง ช็อกโกแลต หรืออาหารทะเล
การเลือกอาหารสำหรับทารก
▪ ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี
▪ ใช้น้ำมันพืชในการประกอบอาหาร
▪ กินอาหารรสธรรมชาต
▪ เลือกอาหารว่างที่มีคุณภาพ
เด็กก่อนวัยเรียน เด็กอายุ 1-6 ปี
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ต้องจัดอาหารให้เพียงพอ และให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
ดื่มนมสด หรือนมถั่วเหลืองวันละ 2-3 แก้ว
ควรหัดให้เด็กรับประทานอาหารทุกชนิด ผักและผลไม้สดทุกวัน
ลักษณะและรสชาติต้องจืด อร่อย ไม่เค็มจัด หรือหวานจัดเกินไป
ฝึกมารยาทในการรับประทานอาหาร
ความต้องการสารอาหารของเด็กวัยก่อนเรียน
ความต้องการด้านโภชนาการ
เด็กวัยเรียน เด็กอายุ 7-12 ปี
ความต้องการสารอาหารของเด็กวัยเรียน
พลังงาน
ขึ้นกับอัตราการเจริญเติบโตและกิจกรรมที่ทำ อาจคำนวณได้จากน้ำหนัก
น้ำหนักระหว่าง 3-10 กิโลกรัม ให้คูณด้วย 100
น้ำหนักระหว่าง 10-20 กิโลกรัม ให้คูณด้วย 50
น้ำหนัก เกิน 20 กิโลกรัม ให้คูณด้วย 20
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
จัดอาหารให้ครบ 5 หม
ฝึกวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา
วัยรุ่นผู้ที่มีอายุ 13-18 ปี
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
พลังงาน
▪ วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
▪ วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
โปรตีน
อย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg
น้ำ
▪ ควรดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
วิตามิน
▪ วิตามิน A
▪ วิตามิน B2
▪ วิตามิน C
เกลือแร่
▪ แคลเซียมและฟอสฟอรัส
▪ ธาตุเหล็ก
▪ ไอโอดีน
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นชายใน 1 วัน (2,300 kcal)
ปริมาณอาหาร
ข้าว 11 ส่วน
นมพร่องมันเนย 1ส่วน
เนื้อสัตว์ (สุก) 6 ส่วน
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 6ส่วน
ไขมัน 8 ส่วน
น้ำตาล 30 กรัม
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นหญิงใน 1 วัน (1,850 kcal)
ปริมาณอาหาร
ข้าว 8 ส่วน
นมพร่องมันเนย 1ส่วน
เนื้อสัตว์ (สุก) 5 ส่วน
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 6ส่วน
ไขมัน 6 ส่วน
น้ำตาล 20 กรัม
วัยผู้ใหญ่ ผู้ที่มีอายุ 20 -59 ปี
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ่
พลังงาน
▪ พลังงานทั้งหมด = คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 + โปรตีนร้อยละ 15 + ไขมันร้อยละ 30
โปรตีน
▪ ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 kg
วิตามินและเกลือแร่
800 mg/day
น้ำ
1,500-2,000 ml/day
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับวัยผู้ใหญ่
ปริมาณอาหาร
ข้าว 12 ส่วน
นมพร่องมันเนย 1ส่วน
เนื้อสัตว์ (สุก) 5 ส่วน
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4ส่วน
ไขมัน 8 ส่วน
น้ำตาล 25 กรัม
วัยผู้สูงอายุ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
พลังงาน
ไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 kcal หรือ
30 kcal/kg ** ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกิจกรรม
โปรตีน
▪ ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีน 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg/day
ไขมัน
▪ ความต้องการไขมันในผู้สูงอายุไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
คาร์โบไอเดรต
▪ ควรได้รับร้อยละ 55 ของพลังงานทั้งหมด
วิตามิน
วิตามิน A ผู้สูงอายุชายต้องการ 700 และหญิงต้องการ 600 μgRE
วิตามิน D วันละ 5 μg
วิตามิน E วันละ 10 และ 8
วิตามิน K mgวันละ 80 และ 65 μg
วิตามิน C วันละ 60 mg
วิตามิน B6ควรได้รับ วันละ 2.2 และ 2.0 mg
วิตามิน B12ง ควรได้รับ วันละ 2.0 μg
โฟเลต
ต้องการ วันละ 175 และ 150 μg
แคลเซียม
โดยเฉพาะผู้หญิง
ความต้องการสำหรับหญิงวัยหมดประจำเดือนวันละ 1,000-1,500 mg
เหล็ก
วันละ 10 mg
สังกะสี
ต้องการ วันละ 15 mg