Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 🍚🍞🍎🍊🥬 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่6 🍚🍞🍎🍊🥬
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
1.หญิงตั้งครรภ์ 🤰🏻
มีการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆเพิ่มขึ้นมาก ทำให้ร่างกายต้องการสารอาหารมากขึ้น
หากได้รับอาหารไม่เพียงพอมีผลเสียต่อมารดาและทารกในครรภ์
น้ำหนแรกคลอดของทารกต่ำ (น้อยกว่า 2,500 กรัม)
ทารกที่อยู่ในครรภ์และวัยทารกขาดอาหารมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมอง
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระ
มดลูกเพิ่มความจุ
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวีนของเลือด
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
ความต้องการสารอาหาร
สารอาหารที่ให้พลังงาน
โปรตีน
แคลเซียม
ธาตุเหล็ก
ไอโอดีน
โฟเลท
วิตามิน B6,C,A,D,
แนวทางการบริโภคอาหาร
เนื้อสัตว์,นม,ไข่,ผัก,ถั่วเมล็ดต่างๆ,ไขมันหรือน้ำมัน,น้ำ
2.หญิงให้นมบุตร
👩🏻🍼
อาหารแม่ในระยะให้นมบุตรคล้ายกับระยะตั้งครรภ์
ความต้องการวิตามิน A,C,B6,folate
อาจพบแร่ธาตุในมวลกระดูกลดลง เช่น Ca,P
ความต้องการของสารอาหาร
การกินอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงจะช่วยให้มารดาผลิตน้ำนมเลี้ยงทารกได้เพียงพอ
ความต้องการโปรตีน พลังงาน วิตามินละเกลือแร่ มากกว่าในระยะตั้งครรภ์
1.พลังงาน 2.โปรตีน 3.แคลเซียม 4.ธาตุเหล็ก 5.ไอโอดีน 6.วิตามิน 7. โฟเลท 8.น้ำ
แนวทางการบริโภคอาหาร
1.ประเภทของอาหาร
เนื้อสัตว์ควรเป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือมีมันน้อย
2.ข้อแนะนำ
กินครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขนมหวาน อาหารทอด อาหารมัน
ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนรับประทานยา
3.วัยทารก 🤱🏻
เมื่ออายุ 4-5 เดือน ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของน้ำหนักแรกเกิด
เมื่ออายุ 1 ปี น้ำหนักควรเพิ่มเป็น 3 เท่า ของน้ำหนักแรกเกิด
อายุ 2 ปี การได้รับอาหารที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารก
ความต้องการสารอาหาร
แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
หลังจาก 6 เดือนถึงขวบปีแรก ทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนมแม่
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
สร้างภูมิคุ้มกันโรค ช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อภาวะภูมิแพ้
มีผลดีต่อจิตใจแม่และลูก
ทำให้มดลูกของแม่เข้าอู่เร็ว
ความพร้อมในการให้อาหาร
1.ความพร้อมของระบบทางดินอาหาร
2.ความพร้อมของไต อัตราการกรองของไตของทารก = ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่
3.ความพร้อมของระบบประสทและกล้ามเนื้อ
การแพ้อาหาร
1-4 เดือน แพ้โปรตีนในนมวัว
อายุต่ำกว่า 7 เดือน แพ้ไข่ขาว
อายุต่ำกว่า 6 เดือน ท้องเสียเรื้อรัง แพ้นมผสม ถั่วลิสง
อาหาการเลือกอาหาร
ข้าว เนื้อสัตว์ ปลา ตับ ไข่ ผัก และผลไม้ เป็นประจำทุกวัน
กินไขมันให้เพียงพอ
มีวิตามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร
หมู ไก่ ปลา และตับ มีโปรตีนแบะธาตุหล็กสูง
4.วัยก่อนเรียน 👩👧
ในระยะแรกๆ ของวัยนี้การเจริญเติบโตค่อนข้างเร็วและจะช้าลงเมื่ออายุมากขึ้น
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยวัยเรียน
ต้องจัดอาหารให้เพียงพอ และให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
ลักษณะและรสชาติต้องจืด อร่อย ไม่เค็มจัด หรือหวานจัดเกินไป
พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีโดยกินอาหารที่มีคุณค่า
รายการอาหาร 1 วัน
อาหารเช้า
ข้าวสุก1ถ้วยตวง
แกงจืดตำลึงหมูสับ1ถ้วยตวง
ไข่เจียว1ชิ้น
มะละกอสุก1ชิ้น
อาหารว่าง
นมสด1แก้ว
อาหารกลางวัน
ข้าวผัดปูใส่ไข่1จาน
แกงจืดมักกะโรนี1ถ้วย
เต้าส่วน
อาหารว่าง
กล้วยน้ำว้า1ผล
อาหารเย็น
ข้าวสวย1ถ้วยตวง
แกงจืดผักกาดขาวหมูสับ1ถ้วย
ผัดเปรี้ยวหวานปลา1จาน
ส้ม2ผล
อาหารค่ำ
นมสด1แก้ว
5.วัยเรียน👨👩👧🎒📗
อัตราการเจริญเติบโตในช่วงวัยเรียนตอนต้นจะเป็นไปอย่างช้าๆ ในช่วงวัยเรียนตอนปลายอัตราการเจริญเติบโตของร่างกายจะสูงมากอีกครั้ง
จะมีพัฒนาการด้านการเสริมสร้างเชาวน์ปัญญา
ความต้องการสารอาหาร
พลังงาน ขึ้นกับอัตราการเจริญเติบโตและกิจกรรมที่ทำ
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในแต่ละวัน โดยมีปริมาณพอเหมาะกับความต้องการ
ฝึกให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท ไม่ควรตามใจหรือให้อาหารเป็นสิ่งต่อรองให้เป็นรางวัลหรือโทษ
6.วัยรุ่น 🙆🏻♀️🙆🏻
ต่อมไร้ต่อต่างๆ ทำงานมากขึ้น
มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ มากขึ้น
กระดูกขนาดใหญ่ขึ้นทำให้ร่างกายสูงขึ้น น้ำหนักเพิ่มมากขึ้น
ทำให้ความต้องการสารอาหารมากขึ้น
ความต้องการสารอาหาร
1.พลังงาน
วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
2.โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg
ปัจจุบันมีการกำหนดความต้องการโปรตีนตามความสูงของวัยรุ่น
3.น้ำ
ควรดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
4.วิตามิน
วิตามินA >> ใช้ในการเจริญเติบโตและคงสภาพเยื่อบุต่างๆ
วิตามินB2 >> เป็นเอนไซม์ในการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
วิตามินC >> เป็นส่วนประกอบของเซลล์ใช้ในการสร้างคอลลาเจน
5.เกลือแร่
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
ธาตุเหล็ก >> ร่างกายต้องการธาตุเหล็กมากขึ้น โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิงในระยะมีประจำเดือน
ไอโอดีน >> ต่อไธรอยด์มีการผลิตฮอร์โมนมากขึ้น >> ต้องการไอโอดีนมากขึ้น
ความสำคัญของอาหารในวัยรุ่น
เด็กวัยรุ่นที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก
*
ควรกินอาหารทุกมื้อ ละถูกต้องตามหลักโภชนาการ
*
ควรจำกัดอาหารที่ให้พลังงานมาก และประโยชน์น้อย ได้แก่ น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมหวาน และอาหารที่ให้ไขมันมาก ให้กินผักผลไม้ให้มากขึ้น
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
กินอาหารให้ครบ 3 มื้อ
*
หากงดมื้อใดมื้อหนึ่ง เช่น งดมื้อเช้า จะทำให้ขาดสารอาหารที่ร่างกายควรได้รับไปอย่างน้อย 1ใน 3 ของความต้องการทั้งวัน
7.ผู้ใหญ่ 🧍🏻♀️🧍🏻
วัยนี้ร่างกายจะไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโต แต่ยังเสริมสร้างเซลล์ต่างๆ
เมื่ออายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป จะมีปัญหาเรื่องน้ำหนักเกิน >> ทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
ความต้องการสารอาหาร
1.พลังงาน ถ้าได้รับพลังงานจากสารอาหารมาแต่ใช้แรงงานในการทำกิจกรรมน้อย >> น้ำหนักก็จะเพิ่มมากขึ้น
2.โปรตีน ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg
3.วิตามินและเกลือแร่ แคลเซียมและฟอสฟอรัสต้องการน้อยลงเหลือ 800 mg/day เนื่องจากระยะนี้ไม่มีการสร้างกระดูกเพิ่มขึ้น
ผู้หญิงต้องการเท่าเดิมจนกว่าจะถึงวัยหมดประจำเดือน
4.ต้องการประมาณ 1,500-2,000 ml/day
วัยทอง (Golden period)
วัยทอง หมายถึง วัยหมดประจำเดือน (Menopausal period) ในผู้หญิงอายุประมาณ 50 ปี
มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
*
เป็นผลมาจากการขาดฮอร์โมน esterogen ในร่างกาย
อาหารของสตรีวัยทอง
ถั่วต่างๆ เมล็ดธัญพืช ข้าวซ้อมมือ ปลา ผัก และผลไม้สด
ประเภทถั่วเหลืองมี phytoestrogen ช่วยบรรเทาอาการช่องคลอดแห้ง และโรคกระดูกพรุนได้
ถั่ว >> บรรเทาอาการประจำเดือนมาผิดปกติได้
เมล็ดธัญพืชทั้งเปลือก มี phytoestrogen และเส้นใยสูง
พบในเมล็ดฟักทอง เมล็ดงา เมล็ดทานตะวัน น้ำมันอิฟนิ่งพริมโรส และกรดไลโนเลอิก
ควรหลีกเลี่ยง
ชา กาแฟ น้ำอัดลม และช็อกโกแลต >> อาการกระวนกระวายและมีการแปรปรวนของอารมณ์
น้ำตาล >> ลดการกักเก็บวิตามิน B complex และแร่ธาตุที่จำเป็น >> อาการตึงเครียด
8.วัยสูงอายุ 👩🦳🧑🦳
1.การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง
ลดลงเมื่ออายุ 60 ปี และรุนแรงขึ้นเมื่อายุ 70 ปี
2.ภาวะสุขภาพปากและฟัน
3.การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง
การดูดซึมเหล็ก แคลเซียม และวิตามิน B12 น้อยลง
4.ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนื่องจากตับอ่อนหลั่งอินซูลินได้น้อยลง และเนื้อเยื่อต่อต้านการทำงานของอินซูลิน >> ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
5.การทำงานของระบบไหลเวียนและไตลดลง
6.กล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆ และเนื้อเยื่อกระดูกลดลง
7.เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป เนื่องจากได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนที่มีผลต่อการทำงานของแคลเซียมและวิตามิน D >> กระดูกหักง่าย
8.ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและจิตสังคม
ความต้องการสารอาหาร
1.พลังงาน ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว
2.โปรตีน ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีน 1
กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 kg/day
3.ไขมัน ความต้องการไขมันในผู้สูงอายุไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
4.คาร์โบไฮเดรต ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงและโรคเบาหวาน
5.วิตามินA ,6.วิตามินD,7.วิตามินE,8.วิตามินK,9.วิตามินC,10.วิตามินB6,11.วิตามินB12,12.โฟเลท ถ้าขาดเกิดภาวะซีด,13.แคลเซียม,14.เหล็ก,15.สังกะสี
A6480035 นางสาวพฤฒิยา อสุรินทร์
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2