Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ (ต่อ), นางสาวกัญญารัตน์…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ (ต่อ)
UNWANTED PREGNANCY
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ไม่ต้องการให้การตั้งครรภ์ดําเนินต่อไปจนครบกําหนดจากสาเหตุบางประการ
ปัจจัยส่งเสริม
ครอบครัว, เศรษฐกิจ, สังคม, ภาวะสุขภาพของมารดาและทารก, ความล้มเหลวของการคุมกําเนิด
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ตัดสินใจฆ่าตัวตาย, ฆ่าบุตรหรือทอดทิ้งบุตร, ทําแท้ง
ป้องกัน การพยาบาล
รณรงค์เรื่องการวางแผนครอบครัวให้คู่สมรสมีการวางแผนการตั้งครรภ์ที่เหมาะสม
ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้อง
ให้ความรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์อย่างเหมาะสม
สร้างค่านิยมเรื่องเพศที่ถูกต้องและเหมาะสมแก่วัยรุ่น
ศูนย์ HOT LINE รับปรึกษาปัญหาตลอด 24 ชั่วโมง
สตรีที่ทําแท้งเรียบร้อยแล้ว ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ก่อนกลับบ้านให้คําแนะนํา - การวางแผนครอบครัว
-การคุมกําเนิด -อันตรายจากการทําแท้งที่ไม่เหมาะสม
DRUG ADDICT PREGNANCY
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์
CENTRAL NERVOUS SYSTEM STIMULANT เช่น โคเคน ยาบ้า สารนิโคตินในบุหรี่
CENTRAL NERVOUS SYSTEM DEPRESSIONS เช่น กัญชา เฮโรอีน มอร์ฟีน แอลกอฮอล์
ปัจจัยส่งเสริม
กลุ่มที่มีอายุน้อย , มีปัญหาครอบครัวและฐานะยากจน
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพด้านสตรีตั้งครรภ์
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและไม่มาฝากครรภ์ , มีโอกาสเกิด ภาวะเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อน, เกิดการติดเชื้อจากการฉีดสารเสพติด, มีสัมพันธภาพไม่ดีกับทารก, ปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาไม่เหมาะสมและไม่มีความพร้อมต่อการเลี้ยงดูบุตร
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารก
•เกิดการแท้งเอง •ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์, คลอดก่อนกําหนด •ทารกแรกเกิดน้ําหนักน้อย •อัตราตายปริกําเนิดสูงขึ้น •ทารกพิการแต่กําเนิด
•อาการของภาวะขาดยา
การประเมินและวินิจฉัยการใช้สารเสพติดในสตรีตั้งครรภ์
• การซักประวัติ • การตรวจร่างกาย •การตรวจทางห้องปฏิบัติการ •สืบค้นสตรีตั้งครรภ์ทุกรายว่ามีการใช้สารเสพติด
•ให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
• ถ้าพบความพิการหรือความผิดปกติแต่กําเนิดของทารกพิจารณายุติ การตั้งครรภ์ตามข้อบ่งชี้
แนวทางการรักษาการดูแล
ระยะคลอด: •ประเมินสารเสพติดในปัสสาวะ
• ดูแลเรื่อง PAIN MANAGEMENT อย่างเหมาะสม
• เตรียมอุปกรณ์และทีมให้พร้อมในขณะคลอด
หลังคลอด: • ควรช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
• ประเมินความสามารถในการดูแลทารก ถ้าดูแลไม่ได้ต้อง
นําทารกออกมา
ABUSE OF PREGNANCY
ความรุนแรงในสตรีมีครรภ์
ความรุนแรง อาจเป็นพฤติกรรมหรือการกระทําใดๆ ก็ตามที่ละเมิดสิทธิ ส่วนบุคคล ทั้งร่างกาย วาจาจิตใจ และทางเพศ จํากัด กีดกั้นเสรีภาพ
รูปแบบความรุนแรง
-ทําร้ายร่างกาย
-ข่มเหงทางเพศ -ทําร้าย จิตใจ
ปัจจัย ส่งเสริม
-ความอิจฉาทารกที่กําลังจะเกิดมา -ครอบครัวขาดความอบอุ่น - โรคจิตโรคประสาท
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ร่างกาย:
ได้รับบาดเจ็บทุพพลภาพพิการหรือเสียชีวิต, ฝากครรภ์ช้าหรือมาฝากครรภ์ไม่สม่ภเสมอ, เกิดอันตรายต่อการตั้งครรภ์
จิตใจ:
เสียใจ ซึมเศร้า โกรธ อับอาย สัมพันธภาพที่ไม่ดีกับทารก การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาไม่เหมาะสม ทารกมักมีปัญหาทางด้านจิตใจและกลายเป็นผู้ใช้ความรุนแรงในที่สุด
การประเมินและวินิจฉัย
•การซักประวัติ และการสังเกตพบอาการและอาการแสดงของการถูกกระทําความรุนแรง
• การตรวจร่างกายพบร่องรอยการถูกทําร้ายร่างกาย
แนวทางการดูแลรักษาการ
ระยะตั้งครรภ์
: • ประเมินสัญญาณชีพ • ประเมินการดิ้นและเสียงหัวใจทารกในครรภ์ • ให้คําแนะนําเรื่องการรับประทานอาหาร • แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย
ระยะคลอด
: • ดูแลเรื่องการบรรเทาความเจ็บปวดอย่างเหมาะสม
ระยะหลังคลอด
: • ประเมินความสามารถในการดูแลทารกและแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ • อธิบายให้เห็นความสําคัญของการคุมกําเนิดและการวางแผนครอบครัว
ส่งเสริมการปรับตัวของสตรีมีครรภ์และครอบครัว รวมทางส่งเสริม สัมพันธภาพระหว่างมารดาทารกและครอบครัว
พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
สถานศึกษา
จัดให้มีการสอนเพศวิถีศึกษาอย่างเหมาะสม
ให้คำปรึกษาช่วยเหลือและคุ้มครองวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ให้ได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องเหมาะสม
ส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการทางสังคม
สถานบริการสุขภาพ
ให้ข้อมูลความรู้ด้านการตั้งครรภ์และการป้องกันที่ถูกต้อง
จัดบริการอนามัยเจริญพันธุ์
ส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการทางสังคม
สถานประกอบกิจการ
ให้ข้อมูลความรู้และส่งเสริมให้เข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์
ส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการสังคม
หน่วยงานสวัสดิการสังคม
ให้มีการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ส่วนราชการท้องถิ่น
•ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจในการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น เพื่อคุ้มครองสิทธิ์ของวัยรุ่น
สิทธิ์ของวัยรุ่น ภายใต้ พ.ร.บ.
ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว
ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์
ได้รับข้อมูล ข่าวสาร และความรู้
ได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาคไม่เลือกปฏิบัติ
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25 รุ่นที่ 28A