Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์, นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์
FETAL ANOMALIES
ภาวะทารกพิการแต่กําเนิด
กลุ่มที่ 1
รุนแรงมาก ไม่สามารถรักษาได้มักเสียชีวิตหลังคลอดทันที เช่น ANENCEPHALY, BILATERAL RENAL AGENESIS, TRISOMY 13
กลุ่มที่ 2
ความรุนแรง ทารกมีโอกาสรอดชีวิตภายหลังคลอดแต่ไม่สามารถ รักษาความผิดปกติให้หายขาดได้ เช่น SEVERE SPINABIFINA, SEVERE HYDROCEPHALUS
กลุ่มที่ 3
ทารกมีโอกาสรอดชีวิตภายหลังคลอด เช่น GASTROSCHISIS , CLEFT LIP, CLEFT PALATE, VENTRICULAR SEPTUM DEFECT
สาเหตุ
- กรรมพันธุ์ - สิ่งแวดล้อม
การป้องกัน
•การให้คําปรึกษาแนะนําทางพันธุศาสตร์
•หลีกเลี่ยงการสัมผัส TERATOGEN
•การวินิจฉัยก่อนคลอด
บทบาทพยาบาล
การเตรียมความพร้อม
การประเมินการรับรู้
การประเมินความต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
การให้ความรู้และข้อมูล
การดูแลด้วยความเข้าใจความรู้สึก
การสรุปข้อมูลและวางแผนในอนาคต
DEAD FETUS IN UTERO
ทารกตายในครรภ์
สาเหตุ
สายสะดือบิดพัน ครรภ์เกิน SLE ติดเชื้อ โครโมโซม พิการแต่กำเนิด IUGR ตกเลือด
การวินิจฉัย อาการและอาการแสดง
ซักประวัติ : นน ลด ทารกไม่ดิ้น มีเลือดออกช่องคลอด
ตรวจร่างกาย : ฟังไม่พบ FHS คลำไม่เคลื่อนไหว
การตรวจพิเศษ : ฮอร์โมนลด
ภาพรังสีทางหน้าท้อง : SPALDING'S SIGN
-DEUEL'S SIGN - AOETA VENA CAVA
EARLY FETAL DEATH ตายก่อน 20 W
INTERMEDIATE FETAL DEATH ตายระหว่าง 20-28 W
LATE FETAL DEATH ตายตั้งแต่ 28 W ขึ้นไป
FETAL DEATH IN UTERO ตายก่อนเจ็บครรภ์คลอด INTRAPARTUM FETAL DEATH ตายในระยะคลอด
การป้องกัน
การให้คําปรึกษาก่อนตั้งครรภ์ -ให้คําปรึกษาทางพันธุกรรม -ตรวจคัดกรองเบาหวาน
ไตรมาสที่ 1 และ 2 • U/S เพื่อยืนยันอายุครรภ์
• คัดกรองโครโมโซมที่ผิดปกติ • ตรวจเลือด
ไตรมาสที่ 3 • U/S ประเมินการเจริญเติบโต
• EFM • สอนนับลูกดิ้น
การพยาบาล
ทําให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงCONSERVATIVE รอให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดเอง หลังเสียชีวิต 2 W
ชักนําให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดด้วยยา •OXYTOCIN •PROSTAGLANDINS •MIFPRISTONE
ระยะหลังคลอด ควรให้ยา BROMOCRIPTINE เพื่อหยุดการหลั่งน้ํานมหลังคลอด
ELDERLY GRAVIDA
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
ผลกระทบต่อทารก
•DOWN SYNDROME •MACROSOMIA
•การคลอดก่อนกําหนด
•อัตราทุพพลภาพ
•อัตราตายปริกําเนิดสูงขึ้น
แนวทางการรักษา
•ประเมินโรคทางอายุรกรรม
•ประเมินภาวะเสี่ยง
•ไม่มีความผิดปกติดูแลเหมือนสตรีมีครรภ์ปกติ
•พบความผิดปกติดูแลตามภาวะแทรกซ้อน
•ลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการปรับตัวของสตรีมีครรภ์และทารก
อายุมากกว่า 35 ปีจนคลอด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
ก่อนการตั้งครรภ์ = ตรวจร่างกายการเตรียมตัวและวางแผนการตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์ = ควรให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีมีครรภ์ปกติ
คลอด = เน้นส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด ป้องกันคลอดยาวนาน
หลังคลอด = การเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
TEENAGE PREGNANCY
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี
สาเหตุ
•สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี
•การเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรม ความเช่ือ
•การดื่มสุราหรือการใช้สารเสพติด
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพมารดา
ด้านร่างกาย
ทุพโภชนาการ, ถุงน้ําคร่ำแตกก่อนกําหนด, การติดเชื้อ, อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น
ด้านจิตสังคม
เครียดและวิตกกังวล , ไม่ได้รับการยอม , มีปัญหาเรื่องการปรับตัว, การปรับตัวในบทบาทของการเป็นมารดาล่าช้า
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารก
ทารกแรกเกิดน้ําหนักน้อย
คลอดก่อนกําหนดหรือเกินกําหนด
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกได้รับการดูแลไม่เหมาะสม
แนวทางการดูแลรักษา
-ซักประวัติและตรวจร่างกายทุกระบบ -ประเมินด้านจิตสังคมให้คําแนะนําและส่งต่ออย่างเหมาะสม -ให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การพยาบาล
-ตั้งครรภ์ = ให้การดูแลเช่นเดียวกับสตรีมีครรภ์ปกติ
-ระยะคลอด = เน้นการดูแลเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
-ระยะหลังคลอด = เน้นการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ลดความเครียดความวิตกกังวลและส่งเสริมการปรับตัวของสตรีมี ครรภ์และครอบครัวรวมทั้งส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารก และครอบครัว
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่25 รุ่นที่ 28A