Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บ จากการคลอด - Coggle Diagram
การบาดเจ็บ
จากการคลอด
Facial palsy
อัมพาตของเส้นประสาทเฟเชียล
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าซีกที่เส้นประสาทถูกกด
จะไม่ขยับเคลื่อนไหวเมื่อทารกร้อง
หน้าเบี้ยว ใบหน้า 2 ด้านไม่เท่ากัน
ตาข้างที่บาดเจ็บจะปิดไม่สนิท
หรือลืมตาอยู่ตลอดเวลา
ปากเบี้ยว
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก
สาเหตุ
มักเกิดจากเส้นประสาทคู่ที่ 7 ถูกกด เนื่องจาก
การคลอดโดยการใช้คึมดึงหรือในรายที่คลอดยาก ทารกอาจเกิดอัมพาตชั่วคราว
การพยาบาล
ล้างด้วย 0.9% NSS และหยอดตา ointment
ตามแผนการรักษาในรายที่ตาปิดไม่สนิท แล้วปิดตา eye pad ที่ฆ่าเชื้อแล้ว
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ ให้มารดาช่วยบีบลานหัวนม เพื่อทารกจะได้ไม่ต้องออกเเรง
ดูดมาก หรือสอดหัวนมไปมุมปากข้างที่ปกติ สังเกตการดูดกลืนและระมัด ระวังการสำลัก
ดูแลกิจวัตรประจำวันและสังเกตอาการผิดปกติอื่นๆ
ในรายที่เส้นประสาทขาด ต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท (Neuro plasty) ให้ดูแลก่อนและหลังผ่าตัดสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซ่อมเส้นประสาท
Torticollis
คอเอียง
ความหมาย
เป็นการกระทบกระเทือนกล้ามเนื้อ Sternocleidomastoid ระหว่างคลอดท้าให้มีการฉีกและมีเลือดคั่งภายใน
อาการ
มักไม่พบตอนแรกคลอด
สังเกตเห็นเมื่อตอน
ทารกอายุ 1-2 เดือน
บริเวณเลือดออกจะ
กลายเป็น fibrous tissure
การรักษา
การยืดด้วยวิธีดัด (PASSIVE STRETCH)
การใช้อุปกรณ์พยุง (ORTHOSIS)
การยืดแบบที่ให้เด็กหันศีรษะเอง (ACTIVE STRETCH)
การผ่าตัดเพื่อแก้ปัญหากล้ามเนื้อหดสั้น
Fracture clavicle
กระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุ
ประวัติคลอดไหล่ยาก
ทารกตัวโตมากกว่า 3,500 กรัม
อาการและอาการแสดง
ทารกไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกไหลปลาร้าหัก
ไหล่ห่อและลู่ลง
คลำได้เสียงกรอบแกรบบริเวณกระดูกที่หัก
แขนทั้ง 2 ข้างเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
moro reflex ไม่มีในแขนข้างที่หัก
ทารกรองเมื่อสัมผัสบริเวณที่หัก
พบลักษณะอาการบวม
ห้อเลือดบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
การพยาบาล
จัดแขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักให้อยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว โดยกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อให้ข้อศอกงอ 90 องศา ติดลำตัว
ดูแลให้ทารก rest นิ่งๆ
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 2-4 ชั่วโมง
สังเกตอาการเคียงอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น