Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertensive disorder, รายที่พบลักษณะดังกล่าวข้อใดข้อหนึ่ง วินิจฉัยว่า…
Hypertensive disorder
-
การประเมินและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ประวัติ PIH ในครอบครัว และประวัติอาการและอาการแสดงของภาวะ PIH เช่น บวม ปวดศีรษะ ตา พร่ามัว เสียดยอดอก หรือเจ็บใต้ชายโครงขวา
2.การตรวจร่างกาย พบว่าค่าความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท หรือค่าความดันโลหิต systolic pressure เพิ่มขึ้น 30 มม.ปรอท และ/หรือ diastolic pressure เพิ่มขึ้น 15 มม.ปรอท จะกระดับก่อนตั้งครรภ์ ซึ่งวัด 2 ครั้งห่างกัน อย่างน้อย 6 ชั่วโมง นอกจากนี้อาจพบอาการบวมกดบุ๋มบริเวณขา เท้า และใบหน้า หรือบวมทั่วร่างกาย
3.1) ค่า serum creatinine ≥ 1.1 มิลลิกรม/เดซิลิตร หรือเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของ serum creatinine เดิม (Creatinine คือ การขับสาร cr ผ่านทางไต 100% ค่าปกติของผู้หญิง : 0.5-1.1 mg/dL)
3.2) liver function test พบมีการเพิ่มขึ้นของระดับ billirubin, alkaline phosphatase, SGOT และ lactic dehydrogenase (ประเมินอาการ HELLP syndrome)
-
2) SGPT(Serum glutamic pyruvic transaminase) หรือ Alanine aminotransferase (ALT) ค่าปกติคือ 7 to 55 U/L
3) SGOT (Serum glutamic-oxaloacetic transaminase) หรือ Aspartate aminotransferase (AST) ค่าปกติ คือ 8 to 48 U/
-
3.4) serum Lactate Dehydrogenase (LDH) (LDH) > 600 IU/L และ/หรือ serum bilirubin ≥1.2mg/Dl (ประเมินอาการ HELLP syndrome)
3.5) ค่าระดับของ platelet : เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000/ลูกบาศก์ มม. (ประเมินอาการ HELLP syndrome)
-
4.การตรวจพิเศษ
- Angiotensin sensitivity test เป็นการทดสอบโดยฉีดสาร angiotensin II เข้าทางหลอดเลือดดำและวัดระดับ ความดันโลหิต ซึ่งในสตรีที่มีโอกาสเกิดภาวะ HDP จะพบว่าความดันโลหิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
- Roll over test เป็นการทดสอบเมื่อหญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์อยู่ในช่วง 28 – 32 สัปดาห์ ทำโดยการวัดความดันโลหิต ของหญิงตั้งครรภ์ภายหลังนอนตะแคงซ้าย 15 นาที แล้วให้นอนหงายนาน 1 นาที จึงวัดความดันโลหิตซ้ำ หากพบค่าความดันโลหิต diastolic pressure ในท่านอนหงายสูงกว่าท่านอนตะแคง 20 มม.ปรอท ขึ้นไป แสดงว่าได้ผลการทดสอบเป็นบวก หญิงตั้งครรภ์ รายนั้นมีโอกาสเกิดภาวะ HDP ได้สูง
- Isometric exercise เป็นการทดสอบโดยให้หญิงตั้งครรภ์เกร็งกล้ามเนื้อแขน ถ้าความดันโลหิตสูงขึ้น ภายหลังการ ทดสอบ แสดงว่าหญิงตั้งครรภ์รายนั้นมีโอกาสเกิดภาวะ HDP ได้สูง
- Mean arterial blood pressure (MAP) ถ้าพบว่ามีค่าเฉลี่ยมากกว่า 90 มม.ปรอท แสดงว่าหญิงตั้งครรภ์รายนั้น มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ได้สูง [MAP คือ (systolic และ 2 diastolic) /3]
-
-
บทบาทพยาบาลในระยะคลอด
การพิจารณาให้คลอดจะพิจารณาเมื่ออายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์ขึ้นไป โดยการประเมินปากมดลูก หากปากมดลูกพร้อมหรือประเมิน Bishop score ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 6 จะพิจารณากระตุ้นคลอด และ สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ในกรณีไม่มีข้อบ่งห้าม ในกรณีที่ปากมดลูกยังไม่พร้อมและสภาวะแทรก ซ้อนรุนแรงแนะน าให้ตรวจติดตามอย่างใกล้ชิดและกระตุ้นคลอดเมื่อสภาวะเหมาะสม ส่วนในสตรีตั้งครรภ์ที่ ตรวจพบภาวะ Severe Preeclampsia โดยทั่วไปถือเป็นข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อลดความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อมารดาและทารก การพิจารณาให้ตั้งครรภ์ต่อในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ทำได้ในโรงพยาบาลตติยภูมิ ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดจากสูตินรีแพทย์ และควรคลอดในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในการดูแลทารกแรกเกิดโดยมีเป้าหมายหลักในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ มีภาวะ Preeclampsia (คมสันต์ สุวรรณฤกษ์, 2554) 2 ประการคือ
- ป้องกันภาวะชักและป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น HELLP syndrome, ไตวาย, หลอดเลือดแตก ในสมอง หรือ ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
-
-
-
หมายถึง กลุ่มความผิดปกติซึ่งประกอบด้วยความดันโลหิตสูง เป็นอาการหลัก (มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท วัดอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 6 ชั่วโมง) โดยที่ภาวะที่ความดันโลหิตสูงนั้น อาจมีมาก่อนการตั้งครรภ์หรือเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ และอาจพบร่วมกับอาการบวมผิดปกติและ/หรือมีโปรตีนในปัสสาวะ (หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงทุกชนิดที่เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์)
-
-
-
รายที่พบลักษณะดังกล่าวข้อใดข้อหนึ่ง วินิจฉัยว่า with severe features
ส่วนรายที่ไม่พบลักษณะดังกล่าวให้วินิจฉัยว่า without severe features
อ้างอิง : สมฤดี กีรตวนิชเสถียร. (2562). บทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 25(4), 116-122.
อัญชลี รุ่งฉาย. (2565).บทที่ 4 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงเนื่องจากการตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
4.6 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ ได้แก่ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์/ ทารกตายในครรภ์/ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
(เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์). วิทยาลัยบรมราชชนนี พุทธชินราช พิษณุโลก