Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นาย ชูเกียรติ คำสุวรรณ์ DX Malinant sarcoma Lt thigh - Coggle Diagram
นาย ชูเกียรติ คำสุวรรณ์
DX Malinant sarcoma Lt thigh
Post op Wide resection mass of Left thigh (7/10/65)
ปวดแผลผ่าตัดเนื่องจากมีการแตกทำลายของผิวหนังจากการผ่าตัด
วัตถุประสงค์ เพื่อลดความปวดจากแผลผ่าตัด
กิจกพยาบาล
1 สังเกตและประเมินอาการและอาการแสดงถึงการปวด เช่นหน้าคิ้วขมวด ขยับตัวลดลง การขอยาแก้ปวดเพิ่ม พักหลับไม่ได้สอบถามถึงระดับความปวดด้วย NRS ทุกๆ 4 ชั่วโมง
2 ยกข้างซ้ายให้สูงขึ้นเพื่อช่วยส่งเสริมการไหลกลับของหลอดเลือดดำไม่ให้หลอดเลือดดำคั่งส่วนปลาย จะช่วยลดปวด ลดบวมได้
3แนะนำเทคนิคผ่อนคลาย หรือเบี่ยงเบนความสนใจเช่นการทำสมาธิ การหายใจ การอ่านหนังสือ ฟังเพลง
5 ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
-Mo 4 mg IV q6hr
-Lyrica cap 1 tab OD แก้ปวดเส้นประสาท/ กันชัก
-Celebrex Cap 200 mg 1 tab bid pc แก้ปวด /ลดอักเสบ NSAIDS
-Beramol 500 mg 1 tab pro q4 -6hr
-Amanda Cap 50 mg prn q 8 hr (analgesic)
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยรู้สึกปวดลดลงค่าpain score <3
ไม่มีอาการของการปวดรุนแรง
v/s ปกติ อุณหภูมิ 35.4-37.4 องศา ชีพจร 60-100 bpm
PR=12-20 bpm SBP/DBP = 90-140/60-90 mmHg
Pain score =5 (10/9/2565]
ขอยาแก้ปวด
สีหน้าบ่งบอกว่ามีอาการปวด
ขนาดของแผล 15 * 20
มีแผลผ่าตัดที่ต้นขาซ้าย
สาย TD สาย 1 มี content 380ml
สาย2 มี content 160ml
เสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อของแผลผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังถูกทำลาย
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอุณหภูมิ หากมากกว่า 37•4 แสดงถึงภาวะติดเชื้อ
2 ประเมินลักษณะแผลและสารคัดหลั่งจากแผลเช่นแผลบวมแดงผิวหนังบริเวณรอบแผลอุ่น มีหนอง กลิ่นเหม็นเป็นต้น
3ทำความสะอาดแผลโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
4ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
5ดูแลให้ยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษา คือ cefazolin 1 g IV q 6hr
6 ดูแลให้ได้รับอาหารที่ส่งเสริม และ would healing process
7 ดูแลไม่ให้แผลโดนนำ้
8 ดูแลให้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
9 ติดตามผล Lab โดยเฉพาะ CBC: WBC , Neutrophil, Lymphocyte
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
T =36.4-37.4c
wbc=5,000-10,000
neutrophil= 40-74
lymphocyte 19.0-48.0%
WBC =7680
Neutrophil=73.2
Lymphocyte = 17.4
Hb=8.5g/dL(13.0-18.0)
HCT =26.4%(40.0-54.0)
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลง
เนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
วัตถุประสงค์ มีความทนในการทำกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น
1 ประเมินอาการและอาการแสดงการทำกิจกรรมน้อยลง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เมื่อยล้า
2 ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยได้แก่ การลุกนั่ง การลุกเดิน การอาบนำ้เองได้ สามารถหยิบจับสิ่งของรอบเตียงได้
3ประเมินสัญญาณชีพทุก4 ชั่วโมง และสังเกตุ อัตราการหายใจ ชีพจร ความดันโลหิตของผู้ป่วยหลังทำกิจกรรม หากผู้ป่วยมีอาการหายใจตื้น อาจบ่นบอกได้ว่าขาดออกซิเจน
4 Absolute bed rest จัดท่านอนศรีษะสูง 30-45 องศา แนะนำผู้ป่วยค่อยๆเปลี่ยนท่า
5 จัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียงผู้ป่วยให้เหมาะสม วางสิ่งของให้ง่ายต่อการหยิบจับ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
6แนะนำหรือให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจกรรมของผู้ป่วย กระตุ้นพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยเท่าที่จำเป็น ให้ผู้ป่วยมีส่วนรวมในการทำกิจกรรมมากที่สุด
7บอกผู้ป่วยให้หยุดทำกิจกรรม หากมีอาการใจสั่น เจ็บกน้าอก หายใจถี่ หรือเวียนศรีษะเกิดขึ้น
8 ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ ได้แก่ Hemoglobin Hematocrit เนื่องจากเม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ขนส่งออกซิเจนจากปอดไปยังเนื่อเยื่อต่างๆหากเม็ดเลือดแดงน้อยลงส่งผลให้อวัยวะหรือเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนน้อยลง
เกณฑ์การประเมินผล
1 ผู้ป่วยสามารถปฎิบัติประจำวันเองได้เพิ่มขึ้น
2สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติทั้งก่อนและหลังทำกิจกรรมได้แก่ Bp=90-60/120-80 mmHg,RR 20 ครั้ง/นาที PR 60-100 ครั้ง/นาที ,BT 36.4-37.4 c และ spo2 >95 %
3ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่ Hemoglobin 13-18g/dL ,Hematocrit 40-54g/dL
ประเมิน 7Ps ปลายเท้าขวาพบ ไม่มีอาการปวดเท้าขวา เท้าขวาไม่ซีด ทำ blanching test เท่ากับ2 วินาที เท้าขวาอ่อนแรงน้อยขยับข้อเท้าได้ เท้าขวาไม่เย็น ปลายเท้าขวาไม่ชาคลำ dorsalis pedis ได้ 68 bpm จังหวะและความแรงสม่ำเสมอ
ประเมิน7P sปลายเท้าซ้ายพบไม่มีอาการปวดเท้าซ้าย เท้าซ้ายไม่ซีด ทำblanching test เท่ากับ 2 วินาที เท้าซ้ายอ่อนแรง ขยับข้อเท้าและนิ้วเท้าได้ ปลายเท้าซ้ายไม่ชาคลำ dorsalis pedis ได้ 68 bpm จังหวะและความแรง สม่ำเสมอ เท้าซ้ายไม่เย็น
เสี่ยงต่อ nerovascular compromise
วัตถุประสงค์ ไม่เกิด neurovascular compromiseผ่าตัดก้อนเนื้อที่ผิดปกติ
กิจกรรมพยาบาล
1ประเมิน7 Pของขาที้ง2ข้าง วันละ1 ครั้ง
2 ดูแลให้ผู้ป่วยยกขาทั้งสองข้างสูงเพื่อส่งเสริมการไหลกลับของเลือดดำ
3 ดูแลเปลี่ยนท่าพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุกๆ2 ชั่วโมง
4 กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย โดยเฉพาะการออกกำลังกายทางออร์โธปิดิกส์ โดยเฉพาะท่า ROMข้อเท้าสอนข้างที่ดีก่อนและข้อนิ้วเท้า QsE,GSE หลังผ่าตัดทุก2 ชั่วโมง
เกณฑ์การประเมินผล
ประเมิน 7Ps Pain score =o/10
เท้าไม่ซีด ไม่บวม คลำชีพจร dorsalis pedis เท่ากันทั้ง 2 ข้าง
จังหวะสม่ำเสมอ ไม่ชา
capillary filling time <2 วินาที เท้าไม่เย็น
CC: ปวดก้อนที่ต้นขาซ้าย แต่ก้อนโตเพิ่มขึ้น เป็นมา 8 เดือน
PI:
พบก้อนที่ต้นขาซ้ายเมื่อ 8 เดือน ที่ผ่านมา ไม่ปวด รักษาที่รพ .ค่ายและรักษาโรคโดยการนวด ต่อมาก้อนมีขนาดใหญ่ขึ้นและเริ่มปวดจึงมารพ สวนดอกและMRI เดือนกันยายน พบ เป็น Malinant sarcoma แพทย์นัดมาผ่าตัด
พร่องความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวัน
วัตถุประสงค์ ผู้ป่วยสามารถปฎิบัติกิจวัตรประจำวันได้
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย เช่น ล้างหน้า แปรงฟัน เป็นต้น
2 ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวันตามความเหมาะสม เช่น อาบนำ้ ขับถ่าย เป็นต้น
3 กระตุ้นให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองบางอย่างที่สามารถทำได้เช่น ล้างหน้า แปรงฟัน รับประทานอาหารเป็นต้น
4 ดูแลทำความสะอาดและจัดสิ่งแวดล้อม
เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวัน
5 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนนอนหลับเพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
เกณฑ์การประเมินผล ปฎิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
Bar den score = 13
มีโอกาศเกิดแผลกดทับ
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดแผลกดทับ
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับทุกวัน
2ดูแลพลิกตะแคงตัว เปี่ยนท่าให้ผู้ป่วยทุก2 ชั่วโมง
3 ประเมิน สภาพผิวหนังทุกครั้งขณะเช็ดตัวหรือพลิกตะแคงตัว
4 ดูแลจัดท่านอนและท่านั่งที่ถูกต้อง
5 เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยการย์ตัวแทนการลากดึงผู้ป่วย
6 ดูแลทำความสะอาดผิวหนังด้วยความนุ่มนวลทาโลชั่นเพื่อป้องกันผิวแห้ง
7 ดูแลให้ผ้าปูที่นอนและผ้ารองตัวผู้ป่วยเรียบตึง แห้งและสะอาด
8 ดูแลให้ได้รับโภชนาการอย่างเพียงพอครบ 5 หมู่
เกณฑ์การประเมินผล ไม่เกิดแผลกดทับ
Falling risk =6 High
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดการพลัดตกหกล้ม
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมิน falling. risk score ทุกวันและอาการและอาการแสดงที่เสี่ยงต่อการเกิดการพลัดตกหกล้ม เช่น ปวดศรีษะ วิงเวียนศรีษะ ชัก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
2 จัดสิ่งแวดล้อม วางสิ่งของให้ผู้ป่วยหยิบใช้ได้สะดวก
3 ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งและล็อกขาเตียงเสมอ
4 ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยในการเปลี่ยนท่า
5 แนะนำการใช้สัญญาณเรียกเจ้าที่แก่ผู้ป่วย
6 ดูแลให้ห้องมีแสงสว่างเพียงพอและสะอาดอยู่เสมอ
7 ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ำเสนอเพื่อป้องกันอุบัติเหตุและให้ความช่วยเหลือ
เกณฑ์การประเมินผล
1 ไม่เกิดการพลัดตกหกล้ม
2 falling risk score =0-1(no risk )