Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนรายงานการวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ - Coggle Diagram
การเขียนรายงานการวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้
ความสำคัญของรายงานการวิจัย
เป็นสื่อกลางในการสร้างความเข้าใจ และขยายองค์ความรู้ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้วิจัย
ก่อให้เกิดการสั่งสม และขยายพรมแดนขององค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ
เป็นเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงข้อมูลสารสนเทศ
การยกระดับ หรือพัฒนาวิชาชีพต่าง ๆ ให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
หลักการเขียนรายงานการวิจัย
ความเป็นระบบ (systematic)
ความถูกต้อง (correcctness)
ความครบถ้วนสมบูรณ์ (completeness)
ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง (correspondence)
ความคงเส้นคงวา (consistency)
ความกระจ่างชัด (clarity)
ความตรงประเด็น (pertinent)
ความมีเหตุผล (cogency)
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย
ส่วนหน้า (preliminary section)
ประกอบด้วย ปกนอก ปกใน บทคัดย่อ ประกาศคุณูปการ/กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญตาราง สารบัญภาพ/สารบัญภาพประกอบ
ส่วนเนื้อหา
ประกอบด้วยเนื้อหา 5 บท บที่ 1 บทนำ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ส่วนท้าย
ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก - เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล - รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ - คุณภาพเครื่องมือวิจัย ปะวัติผู้วิจัย
แนวทางการเขียนส่วนนำ
แนวทางการเขียนส่วนนำ
ประกาศคุณูปการ
สารบัญ
บทคัดย่อ
สารบัญตาราง
ปกใน
สารบัญภาพ
ปกนอก
แนวทางการเขียนส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำ (introduction)
ภูมิหลัง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
ข้อตกลงเบื้องต้น
ข้อจำกัดของการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย (research methodology)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การเก็๋บรวบรวมข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 4 ผลการิเคราะห์ข้อมูล (analysis of data)
นำเสนอเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
นำเสนอในลักษณะที่สื่อความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย
ควรนำเสนอให้เห็นภาพรวมของบทเป็นตอน ๆ
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัย
ผลที่ได้เป็นอย่างไร
เหตุใดผลที่ได้จึงเป็นเช่นนั้น
ศึกษาอะไร
ยืนยันผลที่ได้อย่างไร
ข้อควรคำนึงในการอภิปรายผลการวิจัย
การอภิปรายผลควรอภิปรายเป็นประเด็นตามสมมุติฐานหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ตั้งไว้
พยายามขจัดความลำเอียงดังกล่าวโดยการยึดหลักเหตุผล
ผู้วิจัยควรอภิปรายผลการวิจัยโดยใช้แนวคิด ทฤษฎีที่ได้นำมาใช้สร้างกรอบความคิดในการวิจัยมาช่วยอธิบายข้อค้นพบที่เกิดขึ้น
ผู้วิจัยต้องหาเหตุผลมาประกอบการอธิบาย
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
แนวทางการเขียนส่วนท้าย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
ความหมายของการประเมินผลงานวิจัย
กระบวนการในการพิจารณาตัดสินคุณค่าของงานวิจัยในประเด็นย่อย ๆ ต่าง ๆ เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ว่ามีความถูกต้องสมบูรณ์หรือมีคุณภาพเพียงใด
ประโยชน์ของการประเมินผลงานวิจัย
ประโยชน์ต่อนักวิจัยใหม่
ประโยชน์ต่อนักวิจัยอาชีพ
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจทั่วไป
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
แบบประเมินผลงานวิจัย
แบบพิจารณาในภาพรวม
เป็นการประเมินผลงานวิจัยในลักษณะรวม ๆ
แบบพิจารณารายละเอียดตามจุดต่าง ๆ เป็นการประเมินด้านย่อย ๆ
มีการตรวจสอบความเที่ยงตรง
ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
กำหนดระดับนัยสำคัญ
การออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย
การออกแบบการวิจัยครอบคลุม
รูปแบบเหมาะสมหรือไม่
มีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การอกแบบการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ได้กำหนดขอบข่ายของประชากรที่จะศึกษาหรือไม่
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีจำนวนเพียงพอ
วิธีการสุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสม
มีการอธิบายวิธีการเลือกตัวอย่าง
เครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้ได้ตรวจสอบคุณภาพหรือไม่
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
การจัดทำรายงานการวิจัย
ราบงานการวิจัยเต็มฉบับ
รายงานการวิจัยฉบับย่อ
บทความวิจัย
บทคัดย่อ
การนำเสนอผลงานผลงานวิจัยในที่ประชุมสัมมนา
การนำเสนอโดยการบรรยาย
การนำเสนอโดยการอภิปราย
การนำเสนอโดยการจัดแสดง
การนำเสนอผ่านสื่อต่าง ๆ
การนำเสนอผลงานวิจัยผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์
การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
พิจารณาปัญหาที่ต้องการแก้ไข
พิจารณาแหล่งผลิต และแหล่งรวบรวมผลงานวิจัย
การค้นคว้า รวบรวมและจดบันทึก
การคัดเลือกผลงานวิจัย
การวิเคราะห์ผลงานวิจัย
การนำไปใช้