Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่พบได้จาการตรวจสุขภาพ - Coggle Diagram
โรคที่พบได้จาการตรวจสุขภาพ
กิจกรรมของการตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกาย
วัดความดันโลหิต
ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง
โรคอ้วน โรคเบาหวาน ไขมันในเลือด
การตรวจเต้านมสตรี
มะเร็งเต้านม
ควมเข้มข้นของเลือด
โลหิตจาง
ตรวจปัสสาวะ
ไตอักเสบ นิ่วในไต
ตรวจอุจจาระ
พยาธิทางเดินอาหาร
ตรวจน้ำตาล
เบาหวาน
Cholesterol
ไขมันในเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจ
HIV antibody
การเเพร่กระจาย
Pap smear
มะเร็งปากมดลูก
โรค
วัณโรค (TB)
เกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis
ตรวจพบในเสมหะ เป็นการตรวจเชิงลึก (AFB)
ตรวจโดยการ X-ray Chest
ติดต่อได้ง่าย โดยระบบทางเดินหายใจ
เชื้อทนต่ออากาศเเห้ง อากาศร้อน เเต่ไม่ทนต่อเเสงเเดด :no_entry:
เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วน ต่อมน้ำเหลือง กระดูกเยื่อหุ้มสมอง (ปอด)
พบในผู้สูงอายุที่ร่างกายอ่อนเเอ คนที่ตรากตรำทำงานหนัก :star:
อาการ
ไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ เเห้งๆ หรือมีเสมหะเ
มีไข้ต่ำๆ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้ำหนักลดลง เบื่ออาหาร
เจ็บเเน่นหน้าอก
เหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย
ใครเสี่ยง
คนที่เป็น HIV มักเกิดพร้อมกับ TB
ภูมิคุ้มกันลดลง
การรักษา
ใช้เวลาในการรักษานาน ต้องกินยาต่อเนื่อง อย่างถูกวิธี
โรคเสี่ยงของคนไทย
มะเร็ง (ปัญหาใหญ่)
ชาย
มะเร็งตับ
มะเร็งปอด
มะเร็งลำไส้
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งเลือดขาว
หญิง
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งลำไส้ใหญ่
สาเหตุ
เกิดจากสิ่งเเวดล้อม
ปนเปื้อนในอาหาร
Alfatoxin สารก่อมะเร็ง
Hydrocarbon อาหารปิ้งย่าง
Nitsamine ในสีผสมอาหาร
รังสี
เชื้อไวรัส
พฤติกรรม เช่น สูบบุหรี่
เป็นเเต่กำเนิด เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว
อาการ
ไม่มีอาการใดๆในช่วงเเรกๆ
มีอาการอันตราย 8 ประการ :warning:
1 การเปลี่ยนเเปลงของระบบขับถ่าย
2 กลืนอาหารลำบาก
3 มีอาการเสียงเเหบ
4 มีเลือด หรือตกขาวที่ผิดปกติ (ญ)
5 เเผลที่รักษาไม่ยอมหาย
6 มีการเปลี่ยนเเปลงของหูรูด หรือไฝตามร่างกาย
7 มีก้อนที่เต้านมหรือส่วนต่างๆของร่างกาย
8 หูอื้อหรือมีเลือดกำเดาไหล
อาการทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายทรุดโทรม
มะเร็งลุกราม จะปวดเเสบปวดร้อน ขึ้นอยู่กับว่าเป็นมะเร็งชนิดใด
โรคอ้วน
Bulimia nervosa
ใช้วิธีที่ไม่เหมาะสม
ออกกำลังกายอย่างหนัก
ยาระบาย
ยาขับปัสสาวะ
ล้วงคออาเจียน
สาเหตุ
ความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองต่ำ
พันธุกรรม
กินอาหารผิดปกติเป็นช่วงๆ ควบคุมไม่ได้
โรคกลัวอ้วน (Anorexia nervosa)
การป้องกัน
เสริมทัศนคติที่ดีในการเข้าใจรูปลักษณ์ตนเอง
ใช้ชีวิตในสั่งคมร่วมกับผู้อื่น
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
เคารพตัวเอง
มั่นใจในตัวเอง
เสริมสร้างให้เชื่อมั่นตัวเอง
อาการเตือนร่วงหน้า
มีความรู้สึกว่าตัวเองอ้วนทั้งๆที่ความจริงผอมมาก
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ขี้หนาว ผมบางลง
ออกกำลังกายอย่างหนัก
ไม่กินอาหาร
ตั้งใจอดอาหาร
พฤติกรรม
เเบบกินมาก ออกมาก ; นับเม็ดข้าวขณะรับประทาน
เเบบจำกัด ; กินอาหารน้อย
ปัจจัยเกี่ยวกับครอบครัว ; การดูเเลใกล้ชิด
การมองภาพตัวเองบิดเบือน
สาเหตุ
มักทำตามความตาดหวังคนอื่น
รู้สึกตัวเองไม่มีคุณค่า
เด็กดี เด็กตัวอย่าง เป็น Perfectionist
พันธุกรรม
BMI < 17.5
เป็นโรคผิดปกติทางจิตใจ
ไม่รับประทานอาหาร เพื่อคงน้ำหนักไว้
การเปลี่ยนเเปลงชีวิตสู่โรคอ้วน
เคลื่อนไหวร่างกาย < 13.3 ชม
คนไทยในสังคมเมือง
การเดินทางสะดวกสบาย
ใช้เเรงงานน้อยลง
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
ขาดการออกกำลังกาย
ค่านิยมในกลุ่มวัยรุ่น
พฤติกรรมไม่เหมาะสม
BMI > 30 (18.5-22.9 ปกติ)
ไขมันในเลือดสูง เเละโรคหลอดเลือดหัวใจ :<3:
การป้องกัน
อย่าให้อ้วน
การลดน้ำหนัก
การเปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมการกิน
Cholesterol level
Triglyceride levels ; ต้องกาย < 150 mg/dL
LDL : ต้องกาย < 100-129 :green_cross:
HDL : ค่ายอมรับได้ 40-59 :check:
Total cholesterol levels : ต่ำกว่า 200 mg/dl
ไขมันในเลือดสูง พบในผู้สูงอายุ
หลอดเลือดเเข็งตัว ตีบตัน เกิดโรคเเทรกซ้อนต่ออวัยวะ
สาเหตุของไขมันในเลือดสูง
กรรมพันธุ์ ; ร่างกายไม่สามารถกำจัดไขมันได้
โรคเบาหวาน
พฤติกรรม ; ไม่คุมอาหาร ไม่ได้ออกกำลังกาย
Osteoporosis กระดูกพรุน
เกิดที่ไหนบ้าง
Spine
Hip
Wrist
สูญเสียมวลกระดูก อายุประมาณ 35 ปี
สูญเสียมวลอย่างรวดเร็วหลังหมดประจำเดือน ใน ญ
เป็นโรคที่คุกคามโดยไม่รู้สึกตัว
กระดูเปราะบางเเตกหักง่าย
รักษาเเละป้องกันได้ เพื่อเลี่ยงไม่ให้กระดูกหัก
หญิงวัยทอง ไม่ได้เป็นกันทุกคน :red_flag:
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์
รูปร่างเล็ก BMI < 25 %
ประวัติเคยกระดูกหัก
สูบบุหรี่เป็นประจำ
ได้รับเเคลเซียมน้อย
อายุมาก
ดื่มเหล้า
เชื้อชาติ
ไม่ค่อยออกกำลังกาย
การวินิจฉัย
วักความหนาเเน่นของกระดูก
เครื่อง DXA
ค่ามากกว่า-1 กระดูกปกติ
ตั้งเเต่ -1 ถึง 2.5 กระดูกเริ่มบาง
น้อยกว่า -2.5 เป็นโรคกระดูกพรุน :star:
ลักษณะของวัยรุ่นที่มีความสุขในชีวิต
มองโลกในเเง่ดี
เอาข้อผิดพลาดมาเป็นบทเรียน
ผ่อนคลาย
ปรับตัว
รับฟังความคิดเห็น
พัฒนาตัวเองให้มีคุณค่า
ช่วยเหลือตนเองเเละผู้อื่นได้ตามวัย