Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างตะกอนและการรวมตะกอน, 62055424 สุภาวดี ผลจันทร์ - Coggle Diagram
การสร้างตะกอนและการรวมตะกอน
กระบวนการตกตะกอน
การตกตะกอนโดยวิธีทางเคมี คือ การทำให้อนุภาคคอลลอยด์ต่าง ๆ เกิดการรวมตัวและจับกันเป็น ฟล็อก (Floc) เป็นกระบวนการสำคัญในการปรับปรุงคุณภาพน้ำ โดยสามารถกำจัดความขุ่น สี แบคทีเรีย สาหร่าย รวมถึงสารที่เป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดกลิ่นและรสในน้ำและฟอตเฟส โดยการตกตะกอนทำได้โดยการเติมสารที่ทำให้ตกตะกอน (Coagulant) เมื่ออนุภาคสัมผัสกับสารเคมีก็จะทำให้อนุภาคต่าง ๆ เข้ามาเกาะกันเกิดเป็นอนุภาคขนาดใหญ่ขึ้นและตกตะกอน การแปรสภาพรูปร่างของตะกอนเล็ก ๆ กลายเป็นตะกอนที่ใหญขึ้น (Floc) เรียกกระบวนการนี้ว่า การรวมตะกอน (Flocculation)
คอลลอยด์ (Colloids)
คอลลอยด์ที่ชอบน้ำ (Hydrophilic colloids)
คอลลอยด์กลุ่มชอบน้ำชอบรวมกับน้ำทำให้แยกออกจากน้ำได้ยาก เช่น โปรตีน สบู่ และผงซักฟอกแป้งที่ละลายน้ำ เป็นต้น การแยกออกจากน้ำจะต้องใช้แรงมากในการบังคับรวมกันเป็นกลุ่ม
คอลลอยด์ที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic Colloids) คอลลอยประเภทนี้พร้อมที่จะแยกตัวออกจากน้ำ เช่น ดินเหนียว สารอินทรีย์ละลายน้ำบางชนิด โลหะ เป็นต้น สามารถคงตัวอยู่ในน้ำได้ด้วยแรงผลักของประจุไฟฟ้า สารประเภทนี้สามารถแยกออกจากน้ำได้ง่ายเมื่ออยู ่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
การทำลายเสถียรภาพของคอลลอยด์
การทำลายเสถียรภาพ (Destabilization) ของอนุภาคคอลลอยด์
การทำให้อนุภาคคอลลอยด์ที่หมดเสถียรภาพแล้ว เคลื่อนที่มาสัมผัสและเกาะจับกันเป็นกลุ่ม
ก้อน
การสร้างตะกอน
ขั้นตอนการทำงานของกระบวนการสร้างตะกอน
1.การกวนเร็ว (Rapid Mixing)
2.การกวนช้า (Slow Mixing)
สารที่ใช้สร้างตะกอน
สารส้ม (Alum)
สารประกอบเหล็ก
โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์(Poly-Aluminum Chloride, PAC)
เบนโทไนท์ (Bentonite)
สารเคมีเสริม (Auxiliary Chemicals) หรือสารปรับพีเอช
สารอินทรีย์
การเลือกใช้สารช่วยสร้างตะกอน (Coagulation aid)
ชนิดของสารช่วยสร้างตะกอน
1) โพลีเมอร์ที่ได้จากธรรมชาติ
2) โพลีเมอร์ที่ได้จากการสังเคราะห์
การเลือกสารสร้างตะกอน
การควบคุมการสร้างตะกอน
การควบคุมด้วยการทดลองจาร์เทสต์ (Jar Test)
การผสมเร็ว (Rapid mixing)
เครื่องมือผสมเร็ว
1) การกวนเร็วแบบชลศาสตร์ (Hydraulic rapid mixing)
2) การกวนเร็วแบบเครื่องกล (Mechanical rapid mixing)
62055424 สุภาวดี ผลจันทร์