Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ
การแสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
วิธีการเคารพ
ถ้าเป็นสถานที่ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปมีพื้นที่เหมาะสมที่จะแสดงความเคารพ
ถ้าเป็นสถานที่ที่ไม่เหมาะกับการกราบให้ใช้การประนมมือ
การแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคล
การกราบพระ
1.1 การกราบพระใช้แสดงความเคารพ กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
1.2 การกราบบิดา มารดาครู อาจารย์
นั่งพับเพียบเก็บเท้า
เบี่ยงตัวเองแล้วหมอบลง
วางแขนราบลงกับพื้นตลอดทั้งแขน
ประนมมือตั้งลงพื้นก้มศรีษะ
ไม่แบมือแล้วทรงตัวขึ้นนั่ง
การไหว้
การไหว้พระสงฆ์ ( ขณะยืน )
ยกมือประนมมือจดที่หน้าผาก
ปลายหัวแม่มือจดระหว่างคิ้ว ค่อมศรีษะลงใช้ปลายนิ้วชี้จดตีนผม ค่อมตัวลงให้มาก
ผู้ชายยืนเท้าชิด ผู้หญิงก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า
การไหว้บิดา มารดา ( ขณะยืน )
ประนมมือจดส่วนกลางของหน้าผาก
ปลายหัวแม่มืดจดปลายจมูก ค่อมศรีษะ ปลายนิ้วชี้จดระหว่างคิ้ว
ผู้ชายส้นเท้าชิดปลายเท้าแยกเล็กน้อย ผู้หญิงก้าวเท้าหน้าย่อลงตัวไหว้
การไหว้ผู้ใหญ่
ยกมือที่ประนมจดส่วนหน้าปลายหัวแม่มือจดปลายคางนิ้วชี้จดจมูก
การรับไหว้
ยกมือทั้งสองประนมที่อกค่อยศรีษะให้ผู้ใหญ่ไหว้เล็กน้อย
การปฏิถารตามหลักปฏิสันถาวร
อามิสปฏิสันถาวร คือ การต้อนรับสิ่งของ เช่น เมื่อแขกมาหาของหาน้ำให้รองก่อนรับอาหารอื่นๆ
ธรรมปฏิสันถาวร คือ การต้อนรับด้วยธรรม ต้อนรับพอดีสมควรกับฐานะของแขก
การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย หมายถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
วิธีการแสดงความเคารพ
การกราบเบญจางคประดิษฐ์เป็นการกราบด้วยอวัยวะทั้ง 5 ส่วนจดกับพื้น มือ 2 มือ เข่า 2 หน้าผาก 1
ขั้นตอนการกราบพระรัตนตรัย
จังหวะที่ 1 ประนมมือระหว่างอก ( อัญชลี )
จังหวะที่ 2 ประนมมือก้มศรีษะเล็กน้อย นิ้วหัวแม่มือจดกลางหน้าผาก ( วันทา )
จังหวะที่ 3 การกราบ ( อภิวาท )
หน้าที่ชาวพุทธ
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์และธรรมศึกษา
วัตถุประสงค์ของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
เพื่อให้มีความรู้ทางศาสนา
เพื่อปลูกฝังศีลธรรม วัฒนธรรม
เพื่อให้เยาวชนได้เข้าใกล้พระภิกษุและสามเณร
เพื่อให้รู้จัดใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ธรรมศึกษา
แบ่งการเรียนได้ 3 ระดับ
ธรรมะศึกษาชั้นเอก ธรรมมะศึกษาชั้นโท ธรรมมะศึกษาชั้นตรี
เพื่อให้มีโอกาสได้ศึกษาพุทธประวัติ
นำหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เพื่อให้มั่นคงและแพร่หลาย
เพื่อสังคมคุณภาพ
การบรรพชาและการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึงสภาวะอันสูง การบวชพระภิกษุ
การบรรพชา การเว้นจากความชั่วทุกอย่าง เดิมคำว่า บรรพชา
คือการบวชเป็นภิกษุ
ประโยชน์ของการบรรพยาและอุปสมบท
เพื่อเรียนรู้พระธรรมวินัย
เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา
เพื่อฝึกฝนอบรมให้รู้จักอดทน
เพื่อดำรงตนให้เป็นคนดีของสังคม
ประเภทของการบรรพชาและอุปสมบท
เอหิภิกขุอุปสัมปทา การบวชที่พระพุทธเจ้าประทานให้โดยเปล่งวาจา
ติสรณคมนูปสัมปทา การบวชด้วยวิธีที่พระเจ้าทรงอนุญาติให้สาวกทำ
โอวาทปฏิคคหณูสัมปทา การบวชด้วยรับพระโอวาท
ปัญหาพยากรณูสัมปทา การบวชด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธเจ้า
ครุธรรมปฏิคคหณูสัมปทา การบวชด้วยการรับครุธรรม 8 ประการ
ทูเตนอุปสัมปทา การบวชด้วยทูต
อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา การบวชจากสงฆ์สองฝ่ายคือภิกษุและภิกษุนี
ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การบวชโดยคณะสงฆ์
การบวชชี ธรรมจารินีหรือเนกขัมมนารี
ชี หมายถึง สตรีนุ่งขาว ห่มขาว โกนคิ้วโกนผมถือศีล 8
ธรรมจารินี หมายถึง สตรีนุ่งขาว ห่มขาว ไม่โกนผม ไม่โกนคิ้ว ถือศีล 8
วิธีการบวชชี
ผู้บวชแต่งชุดขาว
ตัวแทนผู้บวชถวายเทียนแก่พระสงฆ์จำนวน 1 รูป หรือ 4 รูปขึ้นไป
กราบ 3 ครั้ง
กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
กล่าวคำอาราธนาศีล 8
รับไตรสรณคมน์
สมาทานศีล 8
นำเครื่องสักการะไปถวายพระ รับฟังโอวาท เสร็จพิธี
ประโยชน์ของการบวช
เพื่อฝึกในอรบรมตน
เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศล
เพื่อให้จิตสงบ
เพื่อปลดเปลื้องให้พเนจากทุกข์
การเข้าค่าย
ค่ายพุทธธรรม ค่ายที่จัดขึ้นเพื่ออบรมส่งเสริมคุณธรรม
ประโยชน์ของการเข้าค่าย
ปลูกฝังนิสัยที่ดีงาม
รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
รู้หลักธรรมคำสอน
ได้ฝึกอบรมจิต
การปลูกจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
สังคม การอยู่ร่วมกันของสมาชิก
สังคมพุทธ การอยู่ร่วมกัน ประกอบไปด้วยพุทธบริษัท 4
ประเภทแรก - พระภิกษุ
ประเภทสอง - คฤหัสถ์ ชาวบ้าน
การบวช - วิธีหนึ่งของการสร้างสมาชิกให้กับสังคมพุทธ
ศึกษาคำสอนและปฏิบัติตามคำสอน
เผยแพร่คำสอน ปกป้องและรักษาศาสนาพุทธ