Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Urinary Tract Infection (UTI) with Sepsis - Coggle Diagram
Urinary Tract Infection (UTI) with Sepsis
sepsis คือ ภาวะที่ร่างกายมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการติดเชื้อหรือต่อพิษของเชื้อโรคโดยทำให้เกิดการอักเสบขึ้นทั่วร่างกายซึ่งการติดเชื้อนั้นอาจเกิดขึ้นที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งของร่งกายหรือเป็นการติดเชื้อทั่วร่างกายก็ได้
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียจะซึมเข้าสู่กระแสเลือดและแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดทันที
ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในกระแสเลือดได้แก่โรคที่เกี่ยวกับการติดเชื้อมนปอด เช่น ปอดบวม การติดเชื้อที่ไต โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
การติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI) เชื้อเข้าสู่ยริเวณช่องเปิดของท่อปัสสาวะ และเคลื่อนไปตามท่อปัสสาวะ เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไต และทำให้เกิดการติดเชื้อส่งผลให้เกิดภาวะติดเชื้อในร่างกาย (Sepsis) ที่ร่างกายของเรามีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการติดเชื้อหรือพิษของเชื้อโรคโดยทำให้เกิดการอักเสบขึ้นทั่วร่างกาย เชื้อแบคทีเรียจะซึมเข้าสู่กระแสเลือดและแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดทันที
สาเหตุ
แบคทีเรีย ส่วนใหญ่แล้วเป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของคนเรา โดยแบคทีเรียดังกล่าวมีการเคลื่อนที่จะลำไส้มาปนเปื้อนบริเวณส่วนนอก (Anus) จากนั้นเข้าสู่บริเวณช่องเปิดของท่อปัสสาวะ และเคลื่อนที่ขึ้นไปตามท่อปัสสาวะ เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไต ทำให้เกิดการติดเชื้อในอวัยวะที่เคลื่อนที่ไปถึง
อาการและอาการแสดง
ไข้ หนาวสั่น
คลื่นไส้อาเจียน
ปัสสาวะถี่
อ่อนแรง
ปัสสาวะขัด
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ระดับความรู้สึกตัวดลง
ภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ไตวายเฉียบพลัน
เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ทางเดินปัสสาวะ เกิดการติดเชื้อ
เชื้อเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะและเกาะติดกับเยื่อบุเซลล์
เชื้อเกิดการแบ่งตัวและเจริญเติบโต ทำให้อักเสบ
เชื้อในปัสสาวะเข้าสู่ท่อไต เกาะติดกับผนังท่อไต
มีการปล่อยสารที่ออกฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อเรียบของท่อไต
ต่อไตหดตัวเกิดการอุกตัน (Physiologic obstruction)
เกิดการไหลย้อนกลับของปัสสาวะเข้าสู่ไตมากขึ้น
1 more item...
การรักษา
การรักษาหลักสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้แก่ การให้สารน้ำที่เพียงพอร่วมกับการให้ยาต้านจุลชีพ
ระยะเวลาในการให้
ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนบน หรือผู้ป่วยที่มีไข้สูง ควรได้รับยาต้านจุลชีพรวม 7 - 14 วัน
ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง โดยผู้ป่วยไม่มีอาการไข้ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ควรให้ยาต้านจุลชีพ 3 - 7 วัน