Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระเบียนสะสม (cumulative record) - Coggle Diagram
ระเบียนสะสม
(cumulative record)
1.ความหมายของ
1.1เป็นเอกสารที่ใช้สำหรับบันทึกเรื่องราว และรวบรวมรายละเอียด ต่างๆ ของนักเรียนแต่ละคนอย่างมีแบบแผน
1.1.1ประวัติส่วนตัว
1.1.2ประวัติการเรียน
1.1.3 ความถนัด ความสนใจ
1.1.4รายงานจากการทดสอบรายงานสุขภาพ
2.ประเภทของระเบียนสะสม
2.1.แบบที่ครูเป็นผู้รวบรวามเก็บเอง
2.2.แบบที่นักเรียนเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลเอง
2.3.เป็นแบบซองหรือแฟ้มพับได้
2.4.เป็นแผ่นเดียวหรือแบบพับได้
2.5.แบบผสมหรือแบบเป็นรูปเล่ม
3.จุดประสงค์ของระเบียนสะสม
3.1บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณีได้
3.2บอกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีต่อไปนี้
3.2.1ระเบียนสะสม
3.2.2ระเบียนสุขภาพ
3.2.3ระเบียนพฤติกรรม
3.2.4อัตชีวประวัติ .
4.ข้อมูลที่ควรรวบรวมไว้ในระเบียนสะสม
4.6 บันทึกประวัติสุขภาพ
4.6.1น้ำหนัก ส่วนสูง โรคประจำตัว ประวัติการฉีดวัคซีน ความบกพร่องทางร่างกาย ฯลฯ
4.5. เวลามาเรียน
4.5.1บันทึกจำนวนเวลามาเรียน และขาดเรียนในรายวิชา ตลอดทั้งภาคเรียน และตลอดปี
4.4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบอื่นๆ
4.4.1จากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนระดับชาติ (National Test) ผลการสอบ O-Net. A-Net
4.3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในโรงเรียน
4.3.1รายละเอียดของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา รายงานผลการเรียนรายวิชาที่ต้องซ่อมเสริม และผลการซ่อมเสริมในแต่ละวิชา
4.2. บ้านและชุมชนของนักเรียน
4.2.1ชื่อ บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง อาชีพ สถานภาพทางเศรษฐกิจของบิดามารดา สถานภาพทางการสมรสของบิดามารดา จำนวนพี่น้องของนักเรียน บิดามารดายังมีชีวิตอยู่หรือไม่ ฯลฯ
4.1. ประวัติส่วนตัวนักเรียน
4.1.1 ชื่อ นามสกุล เพศ วันเดือนปีเกิด เชื้อชาติ สถานที่เกิด ที่อยู่ของนักเรียน ฯลฯ
5.การจัดเก็บระเบียนสะสม
5.1. เก็บไว้ในแฟ้มหรือซอง
5.2. เก็บไว้ในรูปแผ่นซีดี หรือแผ่นดิสก์จัดทำเป็นรายบุคดล
5.3. เก็บไว้ในตอมพิวเตอร์โดยการจัดทำฐานข้อมูลระเบียนสะสมของนักเรียนแต่ละคน
6.ประโยชน์ของระเบียนสะสม
6.1. ช่วยให้ได้ข้อมูลประกอบการแนะแนวของครูแนะแนวในโรงเรียน
6.2. ช่วยให้ครูได้รู้จักนักเรียนที่เข้ามาเรียนใหมีได้อย่างรวดเร็วและมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักเรียนทุกด้าน
6.3. ช่วยให้ครูแนะแนวได้ค้นพบข้อบกพร่อง หรือปัญหาของนักเรียน และสามารถใช้ข้อมูลต่างๆ วางแผนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนได้
6.4. เป็นประโยชนีในการบริหารงานในการจัดชั้นเรียน เพื่อจัดแบ่งกลุ่มนักเรียนตามเกณฑ์ในการจัดแบ่งกลุ่ม
6.5. ช่วยให้ครูได้ตันพบนักเรียนที่มีติปัญญาเลิด และนักเรียนพิเศษ ที่มีความบกพร่องต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน และการแนะแนว