Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไฟฟ้าบทที่1, , , 020ผ่องศรี, 020ผ่องศรี - Coggle Diagram
ไฟฟ้าบทที่1
Electrodiagnosis &Electrotherapy
แรงดันไฟฟ้า (Voltage)แรงกระทำต่ออิเล็กตรอนทำให้เกิดกระแสไหล
กระแสไฟฟ้า (Electric Current)ศักย์ไฟฟ้าสูง (ขั้วบวก)อิเล็กตรอนจะวิ่งตรงข้ามกับกระแสไฟอะตอม ที่มีประจุ + = Cation
วงจรไฟฟ้า:กระแสไฟฟ้าไหลมา แหล่งกำเนิด ผ่าน ตัวนำและ
เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลด
ความต้านทานไฟฟ้า(Resistance)
ฉนวนไฟฟ้า(Insulator)่ไม่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้
ตัวนำไฟฟ้า(Conductor) ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย
สารกึ่งตัวนำ(Semiconductor) อยู่ระหว่างตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
ความต้านทานรวม (Impedance )เปลี่ยนแปลงตามความถี่ ความถี่มาก ทำให้ค่า Impedance ในเนื้อเยื่อ ต่ำ
Biological sources high resistance
Muscle and Nerve
เพิ่ม water content ลด impedance เพิ่มconductivity
Bone, fat, tendon, and fascia
ลด water content เพิ่ม impedance ลด conductivity
ความจุไฟฟ้า(Capacitance)
ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า(Inductance) ขึ้นอยู่กับรูปร่างเลขาคณิตของขดลวดเหนี่ยวนำ
Electrical stimulator
Output amplifier
Provides final regulation of the constant current
Oscillator circuit
provide control parameter as the frequency, pulse duration,
duty cycle, rise and decay time
Power source
DC source Eg. Battery
AC source Eg.Line current
Power Supply
Transformer หม้อแปลงไฟฟ้า(DC to AC/AC to DC)
สามารถเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้า
Rectifierตัวเรียงไฟฟ้า
วงจรที่แปลงไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC) ให้เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง (DC)
Filter( DC to smooth DC voltage)
Regulator :Produces a constant DC
Type of STIMULATOR
Output:
CV,CC
Mobility: Portable, Immobile
Power supply
Line current
Able to use only where there
is line power
Expensive
Long duration of treatment
Battery
Home use
Able to use everywhere
Low electromotive force
Commercial
currents
Electrode(ขั้วกระตุ้น)
เส้นลวดที่มีฉนวนหุ้ม
สายไฟ
ขั้วกระตุ้นที่วางบนผิวหนัง
ประเภท
Polymer electrode
Carbon
Metal
Silicone rubber
ความอ่อนตัวขั้วกระตุ้น
มีผลต่อการ contact
ขั้วกระตุ้นที่เป็นโลหะ อาจจะ lose contact ต่อผิวหนังได้ง่าย
ถ้าแรงกดของขั้วกระตุ้นลดลง ส่งผลให้ความต้านทานเพิ่มขึ้น ต้องใช้กระแส
ความเข้มสูงขึ้น
ตัวกลาง(Cupling medium)
ทำให้ Resistance ต่ำ
ขนาด
ขนาดใหญ่จะกระจายกระแสได้ดีกว่า electrode
ขนาดเล็กมีผลเฉพาะที่มากกว่า เนื่องจากมีความหนาแน่นของ
ประจุมากกว่า
ถ้าลดขนาด electrode ครึ่งหนึ่ง current density จะเพิ่มขึ้น 2 เท่า
ขั้วที่ดี
ติดแน่นขณะมีการเคลื่อนไหวร่างกาย
ไม่ระคายเคืองผิวหนัง
นำกระแสไฟฟ้าได้สม่ำเสมอ
เทคนิดการติดขั้ว
Monopolar electrode orientation
ขั้วหนึ่งวางที่ stimulating electrode
ขั้วหนึ่งวางไว้ไกลจากขั้วกระตุ้นอันแรก
Bipolar electrode orientation
ใช้ขั้วกระตุ้นทั้ง 2 ขั้วของเครื่องกระตุ้นวางบนตำแหน่งที่ต้องการกระตุ้น
ขั้วกระตุ้นที่ใช้มักมีขนาดเท่ากัน
Quadripolar electrode orientation
ใช้ขั้วกระตุ้น 2 ชุด จากวงจรไฟฟ้าที่แยกกัน 2 วงจร
มีรูปแบบการวางหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการ
ปัจจัยต่อElectric shock
ปริมาณกระแส
ความต้านทานการไหลของกระแส
เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย
ระยะเวลาที่ไหล
mainternace
สายดินประกอบด้วยสายไฟขนาดโลหะยาวมากกว่า 1 m ฝังในดิน
สภาพสาย power
ตรวจสอบการรั่วของกระแสไฟฟ้า และความสมบูรณ์ของระบบ Ground ทุก 6 เดือน
คุณสมบัติสรีรวิทยาทางไฟฟ้า
Excitable Tissue
โครงสร้างและการทำงาน
Membrane capacitance
เป็นlipid bilayer เป็นตัวเก็บประจุ
Resting membrane potential
มีค่าช่วงระหว่าง-90ถึง -70mv
โซเดียมในเซลล์ไป3ไอออนและโพรแทสเซียมเข้า2ไอออน
ค่าในเซลล์เป็บลบ เมื่อเทียบกับนอกเซลล์
Non-Excitable Tissue
กระบวนการเกิด potential
เริ่มจากresting potential ถูกกระตุ้น
ต้องถึงจุดThreshold
เมื่อถึงแล้วประตูโซเดียมเปิดออก ขาขึ้นเป็นDescending
ถึง Action potential
โซเดียมปิด โพรแทสเซียมเปิด ประจุบวกออก
ประจุบวกออกมากไป
ประตูโพรแทสเซียมปิด แล้วไปเรื่อยๆ เพราะโซเดียมคอยปรับสมดุล
การแผ่ของกระแสประสาท
เซลล์ถูกกระตุ้น เกิดaction potential
เกิดการเหนี่ยวนำบริเวณใกล้เคียง
กระแสไฟฟ้าไหลจากศักดิ์ไฟฟ้าสูงมาต่ำ
ปลอกไมอีลินช่วยความเร็วนำกระแสประสาท
action potentialเกิดที่ Node of Ranvier เท่านั้น
โครงสร้างกล้ามเนื้อและโครงร่าง
1.muscle Fasciacle (ใหญ่สุด)
Muscle Fiber
Myofibril
4.Scromere(เล็กสุด)
Definition of Moter unit
เป็นโครงสร้างทางกายวิภาค ของระบบประสาท
Alpha motor neuron
Nerve root&Plexus
NMJ
Muscle Fiber
Moter unit
Muscle Response
Wave summation รวมตัวกัน
Unsed or incomplete tetanus ค่อยๆตัดคลื่นการหดตัวของกล้ามเนื้อ
Twitch contraction กระตุ้นครั้งเดียว (กระตุ้นหนึ่งครั้งหดหนึ่งครั้ง)
Fused or complete tetanus การหดเกรงค้าง
WAVEFORM
TYPE
Direct current, DC (กระแสไฟตรง)
การไหลของประจุไฟฟ้าต่อเนื่อง
อย่างน้อย 1 วินาที
“ galvanic current”คือ ช่วงกระตุ้นยาว ไม่
มีช่วงพัก
กระแสไฟไหลต่อเนื่องน้อยกว่า 1 วินาทีเรียก “pulsatile current
การดัดแปลง
Interrupted DC
ไหล หยุด ไหลต่อ
Reversed DC
ไหลนาน และวกลับ1วินาที
Alternating current, AC
การไหลของประจุไฟฟ้าทั้งสองทิศทางที่
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
กระแสพัลส์ หรือ กระแสไฟฟ้าที่เป็นช่วง
ประจุไฟฟ้ามีการไหลทิศทางเดียว หรือทั้งสองทิศทาง
ลักษณะ
SINGLE PHASE
Amplitude
วัดปริมาณกระแสไฟฟ้าเทียบกับเส้น
PULSE CHARGE
1 more item...
PHASE CHARGE
1 more item...
PERIOD
ช่วงเวลา จะเป็นส่วนกลับกับความถี่
Time
บอกปริมาณของกระแส
เรียกชื่อรูปคลื่นของกระแสไฟฟ้า : เรียงจากขวา → ซ้าย ตามแผนภูมิ
PULSE
INTERPULSE INTERVAL
ช่วงเวลาระหว่างสิ้นสุด pulse หนึ่ง ถึงเริ่มต้นอีก pulse หนึ่ง
FREQUENCYคือ จำนวน pulse ต่อหน่วยเวลา
CURRENT MODULATION ผสมคลื่นไฟฟ้า 2 คลื่นเข้าด้วยกัน
รูปคลื่น
NUMBER OF PHASES
SYMMETRY OF PHASES
BALANCE OF PHASE
WAVEFORM OR PHASE SHAPE
The effect of direct current
(Anode)
oxygen gas
Hyperpolarization
Acid
(Cathode)
hydrogen gas
Depolarization
Base
HAZARD OF DC
Direct or uniphasic currents
ใช้ผ้าชุบน้ำหน้ามากกว่าครึ่งนิ้วรองใต้ขั้ว
ไม่ใช้เวลารักษานานเกินไป
อย่าใช้ผ้าเปียกจนน้ำนอง
ไม่ใช้ความเข้มของกระแสมากเกินไป
ไม่ทำผ่านหัวใจ
HAZARDS OF AC
กระแสสลับ เป็นกระแสที่มีการเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสไปมาต่อเนื่อง
มี duration สั้น จึงต้องเปิดความเข้มของกระแสสูง
กระแสสลับที่มีความถี่มากกว่า 50 Hz อาจทำให้เกิดการหดตัวแบบเกร็งค้าง
CLINICAL
PRECAUTIONS
Ground system inspecting
สวมรองเท้าที่แห้งและเป็นฉนวนไฟฟ้า
ปิดเอาต์พุตหรือความเข้มก่อนเปิดสวิตช์
สวมรองเท้าที่แห้งและเป็นฉนวนไฟฟ้า
020ผ่องศรี
020ผ่องศรี