Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
งานกิจการพลเรือนในการรบตามแบบ - Coggle Diagram
งานกิจการพลเรือนในการรบตามแบบ
ผลกระทบของประชาชนในพื้นที่การรบ
เกื้อกูล
= หากปชช. สน.ฝ่ายเรา
ขัดขวาง
= หากปชช. หันเหเป็นฝ่ายตรงข้าม
งานหลักด้าน กร. ในการรบตามแบบ
การ สน. การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3
สน. จนท./เครื่องมือ ที่จำเป็น
ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ฝึกอบรม
ประสานแผนป้องกันฯ/แผนปฏิบัติ ใน พท. ส่วนหลัง
ขอบเขต
ความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ปชช./รัฐ
ภัยทางอากาศ/ก่อวินาศกรรม
เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย ปชช.
การดำเนินการต่อทรัพยากรพลเรือน 4
นำทรัพมาใช้ โดยอาศัยข้อมูลใน พท. (ที่รวบรวมไว้ยามปกติ)
กำหนดมาตรการ
การพิทักษ์
= ป้องกัน ขศ. ใช้ประโยชน์
การทำลาย
= ป้องกัน ขศ. ใช้ประโยชน์
การใช้
ยามสงคราม/ประกาศกฎอัยการศึก
การ สน. การปฏิบัติใน พท.ส่วนหลัง 2
ป้องกันสถานที่ตั้งทางการช่วยรบ
กำลังกึ่งทหาร
ประชาชน
ส่วนราชการพลเรือน
บทบาท สธ.5
มอบความ รผช./การใช้ทรัพ
การใช้พลังอาสาสมัคร
ประสานแผนทหารกับ พร.
การ ปกครองดินแดน/สน. ราชพร. ยามสงคราม 5
ขั้น
การปฏิบัติการปกครองดินแดน
การส่งมอบ
การเตรียมการ
หลักการ
ใช้ จนท.ปกครองเดิม/ตั้งขึ้นใหม่
ถ่ายโอนอำนาจให้ พร. เมื่อสถาฯคลี่คลาย
การปกครอง กระทำในกรณียึดครอง พท. นอกประเทศ
การป้องกัน/ลดการกีดขวางการยุทธ์ 1
การดำเนินการต่อผู้อพยพ/ลี้ภัย
กำหนดมาตรการด้านข่าว/รปภ.
ป้องกันความไม่พอใจของ ปชช.
การควบคุมสัญจร
กำหนดเวลาห้ามออกจากบ้าน
กำหนดเส้นทางสัญจร
กำหนดพื้นที่หวงห้าม
การอพยพ พร.
ที่ตั้งในการควบคุม
พื้นที่รวบรวม พร.
จนท.พร./พลังมวลชน ดำเนินการ
รับไว้ชั่วคราว/ส่งต่อ/บรรเทาทุกข์เพิ่มเติม
รับจาก ต.รวบรวม พร.
ควบคุมโดยหน่วย กร.
ลักษณะพึงประสงค์
หลีกเลี่ยงที่ต้ังทางทหาร
ปม.การโจมตีทางอากาศ
ห่างจากการปะทะ
ศูนย์รับผู้อพยพ/ลี้ภัย
หน่วย ทบ.สนาม ดำเนินการ
ใช้เจ้าหน้าที่พลเรือน
ใช้อำนวยความสะดวกต่างๆจาก พร.
ลักษณะพึงประสงค์
ต้้งในเขตหลัง/ภายใน
เป็นที่ตั้งชั่วคราว/กึ่งถาวร
ตำบลรวบรวม พร.
จนท.หน่วยทางยุทธวิธีดำเนินการ
บรรเทาทุกข์ขั้นต้น
ส่งต่อ
แยกประเภท
ลักษณะพึงประสงค์
ห่าง สลก. /ใกล้เส้นทางรอง/แหล่งน้ำ/กว้าง
ไม่กีดขวางกองหนุน/ง่ายควบคุม/เลี่ยงแนวทาง คท.
อยู่ใน กรมในแนวหน้า/พท.ส่วนหลังกองพล
หลักพื้นฐานการอพยพ
กำหนดมาตรกันการแทรกซึม ขศ.
ผู้ปฏิบัติหลัก จนท.ราช พร.
ใช้ทางรอง
หลีกเลี่ยง สลก.
การสั่งการ
ผบ.พล ขึ้นไป
มอบอำนาจให้ ไม่ต่ำกว่า ผบ.กรม
ข้อพิจารณาในการวางแผนอพยพ
ผลกระทบ
อาจทำให้ผู้อพยพไม่พอใจ
ล่อแหลมต่อการโฆษณาชวนเชื่อของข้าศึก
ความเป็นอยู่พลิกผัน ต้องออกจาก พท. ตัวเอง
เป็นภาระ จนท. ต้องพาอพยพ
บทบาทฝ่ายทหารในการอพยพ
ประสาน
แผนอพยพ
สนับสนุน
การอพยพ
พิจารณาความจำเป็น
การอพยพ
ปฏิบัติ
การอพยพตามความจำเป็น
การอพยพ
ทหาร สน. ช่วย ตามร้องขอ
ทหารดำเนินเฉพาะ ภายนอกประเทศ/จำเป็น
จนท. มหาดไทย รผช.
นิยาม
ผู้ผลัดถิ่น
ผู้ลี้ภัย
ผู้อพยพ
การปฏิบัติการจิตวิทยา 6
ปจว. สนับสนุนการรบ
ลดขวัญ
ประสิทธิภาพการรบ
ขศ.
เพิ่มขวัญ
ประสิทธิภาพการรบ
ฝ่ายเรา
อำนาจกำลังรบ
มีตัวตน
ไม่มีตัวตน
พื้นที่
ใกล้ 1/2/4/6
หลัง 1/2/3/4/6
ลึก/นอกประเทศ 5/6
แนวความคิดในการจัดหน่วย กร. ในรับดับต่างๆของ ทบ.
ประกอบด้วย 2 ส่วน ใหญ่
ส่วนควบคุมบังคับบัญชา
ชุดการในหน้าที่
ชุดที่จำเป็นต้องใช้
แรงงาน/รปภ./ประชาสงเคราะห์
ควบคุมผู้อพยพ/ผู้ลี้ภัย
ส่งกำลัง พร.
ระดับ
กองร้อย กร.
สน.โดยตรง ทภ.
พท. ใหญ่กว่า จว./แต่เล็กกว่า ทภ.
มว.กร.
สน.โดยตรง กองพล
พท.ระดับ จว.ลงมา
กองพัน กร.
สน. ส่วนรวม ทบ.
พท.ระดับเขตประเทศ
แนวความคิดในการจัดชุด ชป.กร. หลักนิยม 2563
ระดับ
ชป.กร.มทบ.
ชป.กร.พัน.
ชป.กร.พล
เพิ่มเติม
ชป.กร.กกล.ป้องกันชายแดน
หน้าที่ เป็นสื่อกลางชี้แจงทำความเข้าใจ สร้างการรับรู้/ภาพลักษณ์ที่ดี ของ ทบ.กับ ปชช. และ ปชส. ผลงาน รัฐ/ทบ.
หน่วยงานด้าน กร.อื่นๆ
ส่วนปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของหน่วย
ชุด ปจว.
ชุดประเมินภัยพิบัติ
ชุดช่างภาพสนาม
ศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทบ.(ศปส.ทบ.)
ศูนย์ประสานงานมวลชน นขต.ทบ. (ศปช.นขต.ทบ.)
กลุ่มมวลชน สน. ของ ทบ.
ปชช.ที่อยู่ใน พท.ปฏิบัติการ ของ ศปช.นขต.ทบ.
กลุ่มมวลชนหลักของ ทบ.