Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 4
แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ที่มา ความหมาย ความสำคัญและขอบเขตของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.2 ความหมายและความสำคัญ
ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.2.2 ความสำคัญ
(1) การเกษตรเป็นพื้นฐานของการผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงประชากรของโลก
(2) การพัฒนาความรู้แก่เกษตร
(3) การพัฒนารายได้
(4) การพัฒนาชีวิตเกษตรกรและครอบครัวเกษตรกร
(5) การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(6) การพัฒนาประเทศ
1.2.1 ความหมาย
(2) กระบวนการต่อเนื่องไม่สิ้นสุดและยั่งยืนได้
ทำให้เกษตรกรมีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) กระบวนการประชาธิปไตยหรือการมีส่วนร่วม
ได้รับความร่วมมือจากเกษตรกรอย่างเสรีอิสระ
เกษตรกรเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ
(1) กระบวนการทางการศึกษา
ให้ความรู้ แนวทางการผลิต นวัตกรรม
หรือเทคโนโลยีการผลิต
1.1 ที่มาของการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
1.1.2 การพัฒนาการเกษตร
ด้านเศรษฐกิจ
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเจริญเติบโต
อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร
ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ด้านสิ่งแวดล้อม
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชน
1.1.3 สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญ
การผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ
เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อย มันสำปะหลัง
มูลค่าและต้นทุน
ราคาผันผวนสูง
มูลค่าสินค้าเกษตรลดลง
สภาวะต้นทุนคงที่
1.1.1 ความต้องการอาหาร
เพื่อการแลกเปลี่ยนและผลิตเพื่อรายได้
ผลิตเพื่ออุตสาหกรรมแปรรูป
เพื่อดำรงชีพ
1.1.4 การพัฒนาผลผลิตของเกษตรกร
หันมาทำเกษตรแบบยั่งยืน
มุ่งการใช้เทคนิคในการทำฟาร์มอินทรีย์
เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ และเกษตรมีส่วนร่วมในการพัฒนา
1.3 ขอบเขตของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(3) การตลาดและการดำเนินการอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตร
(4) การจัดการไร่นาและครัวเรือนเกษตร
(2) การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
(5) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในชนบท
(1) การพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
(6) การพัฒนาเยาวชน
(7) การพัฒนาผู้นำเกษตรกรและแม่บ้าน
(8) การพัฒนาชุมชนชนบท
ปรัชญา วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2.1 ปรัชญาของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(2) การส่งเสริมต้องช่วยเกษตรกรให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้
(3) การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรย่อมอาศัยพื้นฐานความเข้าใจในด้านการเกษตร และปัญหาของเกษตรกรเป็นสำคัญ
(1) การส่งเสริมต้องเข้าถึงถิ่นของเกษตรกร
(4) การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรต้องการการมีส่วนร่วมของ
นักส่งเสริม เกษตรกร และเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2.2.1 วัตถุประสงค์
(3) เพื่อช่วยให้เกษตรกรเข้าใจสภาวะต่างๆ รู้จักแก้ปัญหา รู้ความต้องการตนเอง เพื่อพัฒนาให้ตรงตามความต้องการ
(4) เพื่อสร้างบรรยากาศให้เกษตรกรมีโอกาสในการพัฒนาปัญหา เพื่อความรอบรู้ เพื่อรู้จักปฏิบัติตนให้มีค่าทางเศรษฐกิจและสังคม
(2) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าใจกระบวนการพัฒนาการผลิต
ที่สมบูรณ์แบบ
(5) เพื่อช่วยให้สมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรมีโลกทัศน์ทางการเกษตรที่กว้างขวางขึ้น
(1) เพื่กระตุ้นและสนับสนุนให้เกษตรกรมีความสามารถในการผลิต
และทำเป็นอาชีพได้อย่างมีปีะสิทธิภาพ
(6) เพื่อสร้างความภาคภูมิใจความเป็นอยู่ สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
2.2.2 เป้าหมาย
(3) เพื่อสามารถนำความรู้ และวิชาการเกษตรแผนใหม่ มาใช้ประโยชน์ได้อย่างรวดเร็ว
(4) ให้ความรู้แก่เกษตรกรในด้านวิธีปฏิบัติที่ทันสมัย และนำไปใช้ได้จริง
(5) เพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติของนักส่งเสริมให้สูงขึ้น
(2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของนักส่งเสริม
(1) เพื่อให้คำแนะนำช่วยเหลือเกษตรกรในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อย่างใกล้ชิดและทั่วถึง
(6) จัดหาอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของนักส่งเสริม ให้เพียงพอต่อความต้องการในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบ รูปแบบ และวิธีการในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
3.1 ระบบของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(3) ระบบการส่งเสริมโดยสถาบันการศึกษา
(4) ระบบการส่งเสริมโดยภาคเอกชน
(2) ระบบการส่งเสริมแบบกระจายการส่งเสริมไปสู่จุดการผลิต หรือกระจายสู่ท้องถิ่น
(5) ระบบการส่งเสริมในลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
(1) ระบบการส่งเสริมแบบรวมศูนย์กลางในการกำหนดนโยบายแผน และวิธีปฏิบัติ (ควบคุมโดยรัฐบาลส่วนกลาง)
3.2 รูปแบบ และวิธีการส่งเสริม
และถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตร
3.2.1 รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยทั่วไป
(2) การส่งเสริมในรูปแบบของการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
(3) การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยสถาบันการศึกษา
(1) การส่งเสริมรูปแบบอย่างเป็นทางการ
3.2.2 รูปแบบการส่งเสริมทางเลือก
(2) การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
(3) การส่งเสริมในรูปแบบของโครงการ
(1) รูปแบบม่งพัฒนาผลผลิตการเกษตรเฉพาะอย่าง
(4) การส่งเสริมในรูปแบบของการพัฒนาระบบฟาร์ม
(5) การส่งเสริมในรูปแบบของการร่วมรับผิดชอบในค่าใช้จ่าย
(6) รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบเกษตรพันธสัญญา
3.3 วิธีการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
3.3.3 วิธีการส่งเสริมโดยอิงเจ้าหน้าที่เป็นเกณฑ์
3.3.4 วิธีการส่งเสริมโดยอิงเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเกณฑ์
3.3.2 การส่งเสริมโดยอิงวัตถุประสงค์เป็นเกณฑ์
(2) การส่งเสริมโดยการเลือกเรื่องที่จะส่งเสริม หลายๆ เรื่อง
เป็นเรื่องเกี่ยวข้องพร้อมๆกัน
(3) การส่งเสริมโดยการเลือกเรื่องทั้งหมดเกี่ยวกับฟาร์มและบ้านเรือน
(1) การส่งเสริมโดยเลือกการส่งเสริมเพียงเรื่องเดียว
(4) การส่งเสริมโดยการเลือกท้องที่ใดท้องที่หนึ่งเป็นเป้าหมายในลักษณะ Intensive
3.3.5 วิธีการส่งเสริมโดยอิงชุมชนเป็นเกณฑ์
(1) ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบล
(2) ศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบล
(3) การถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมชุมชน/วิสาหกิจชุมชน/ประชารัฐพัฒนา แบบบูรณาการ
3.3.1 วิธีการส่งเสริมและพัฒนา
การเกษตรโดยอิงบุคคลเป้าหมายเป็นเกณฑ์
(2) วิธีการส่งเสริมโดยกลุ่มบุคคล
การฝึกอบรม
การสาธิต
การศึกษาดูงานนอกสถานที่
การประชุมกลุม
(3) การส่งเสริมแบบมวลชน
เอกสารหรือสิ่งพิมพ์ , โปสเตอร์, หนังสือพิมพ์,
วิทยุ, โทรทัศน์, ภาพยนต์ และการจัดนิทรรศการ
(1) วิธีการส่งเสริมแบบบุคคลต่อบุคคล
การติดต่อทางโทรศัพท์
การติดต่อกันทางจดหมายส่วนตัว
เกษตรกรมาติดต่อที่สำนักงาน
การติดต่ออย่างไม่เป็นทางการ (เช่น บังเอิญเจอตามถนน)
การเยี่ยมไร่นาและบ้านเกษตรกร
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กับการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน
4.2 การประยุกษ์ผลการวิจัย
ในงานส่งเสริมการเกษตร
4.2.1 การวิจัยทางการเกษตร
การวิจัยของไทยยังล้าหลังในแง่นโยบายการวิจัย
การสนับสนุนงานวิจัย และการพัฒนานักวิจัยอย่างจริงจัง
รูปแบบของการประยุกษ์ใช้เทคโนโลยี
อดีต
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมทำหน้าที่เป็นตัวกลาง นำเอาความรู้/วิชาการ
จากสถาบันวิจัยไปให้เกษตรกรโดยผ่านช่องทางที่เหมาะสม
และในบางครั้งอาจนำปัญหาด้านเกษตรกลับไปสถาบันวิจัยได้วิเคราะห์
และแก้ปัญหาให้กับเกษตรกรอีกครั้ง
ปัจจุบัน
พัฒนามาก
ปัจจัยหลายประการ
(3) งานวิจัยด้านการเกษตร มีมากขึ้น
(4) องค์กรชุมชน มีการวมกลุ่มกัน แก้ไขปัญหาร่วมกัน วางแผนร่วมกัน
(2) การติดต่อสื่อสารได้เปลี่ยนรูปแบบหลายทาง เช่น วิทยุ โทรทัศน์
(5) นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(1) เกษตรกรได้รับการพัฒนาด้านการศึกษามากขึ้น
4.2.2 นวัตกรรมการเกษตร
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
คำนิยาม
(2) ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ หรือการสร้างความสำเร็จในเชิงพาณิช
(3) การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์
(1) ความใหม่ คือเป็นสิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น ปรับปรุงจากเดิมหรือพัฒนาขึ้นใหม่
การพัฒนาผลงานวิจัยสู่นวัตกรรมการเกษตร
(2) นวัตกรรมกระบวนการ
(2.3) การผลิตแบบเกษตรแม่นยำ
(2.1) การผลิตแบบการผลิตที่ดีทางการเกษตร (GAP)
(2.4) การผลิตในแบบเกษตรอัจฉริยะ
(2.2) การผลิตแบบอินทรีย์
(3) นวัตกรรมการผลิตแบบบูรณาการ
มีกระบวนการตั้งแต่การผลิต
คือจากฟาร์ม สู่อุตสาหกรรมแปรรูป สู่ตลาด
สู่โต๊ะอาหาร เป็นกระบวนการในการทำงานอย่างครบวงจร
(1) นวัตกรรมการผลิตสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
เช่น พันธุ์ข้าว พันธุ์สัตว์ต่างๆ
4.1 บทบาทและความสัมพันธ์
4.1.1 บทบาท
(1) บทบาทต่อการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
(2) บทบาทในการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาการเกษตร
สนับสนุนการพัฒนาการเกษตรต่อการพัฒนาชุมชนในชนบท
สนับสนุนการพัฒนาประเทศ
สนับสนุนการพัฒนาชีวิตและครอบครัวเกษตรกร
สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน
สนับสนุนการพัฒนาการเกษตร
4.1.2 ความสัมพันธ์
มีสายสัมพันธ์ในการพัฒนาตั้งแต่ระดับครัวเรือนเกษตรกร ไปสู่ระดับที่สูง คือระดับชุมชนในชนบท ชุมชนเมือง ประเทศ อันเกี่ยวพันถึงการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของประเทศเป็นสำคัญ
4.3 การส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อความมั่นคั่ง มั่นคง และยั่งยืน ตามนโยบายการพัฒนาประเทศ 4.0 ของประเทศไทย
4.3.1 ปัจจัยทรัพยากรธรรมชาติ
(2) น้ำ พื้นที่เพื่อการเกษตรทั้งประเทศ จำนวน 133 ล้านไร่ มีระบบชลประทานครอบคลุมเพียง 29 ล้านไร่
(3) ป่าไม้ ถูกบุกรุกทำลายจำนวนมาก อาจเป็นการทำลายพันธุกรรมพืช และสัตว์บางชนิดทีสำคัญต่อการเกษตร
(1) ดิน เป็นแหล่งอาหารและน้ำเพือการเจริญเติบโตของพืช
4.3.2 การส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
ส่งเสริมเป็นนวัตกรรมด้านความคิดและการปฏิบัติซึ่งต้องดำเนินการอย่างดี
4.3.3 การพัฒนาตามนโยบาย 4.0
(2) เปลี่ยนจาก SMEs ที่รัฐให้ความช่วยเหลือตลอด ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง
(3) เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่ High Value Services
(1) เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่เกษตรสมัยใหม่
เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี
(4) เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง
4.3.4 กระบวนทัศน์ในการพัฒนาประเทศ
ภายใต้ ประเทศไทย 4.0
(2) เป็น Reform in Action ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อมๆกัน
(3) เป็นการผนึกกำลังของทุกภาคส่วน ภายใต้แนวคิด ประชารัฐ โดยผนึกกำลังกับเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรระดับโลกภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของการ รู้จักเติม รู้จักพอ และรู้จักแบ่งปัน
(1) จุดเริ่มต้นของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ขับเคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม