Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการ ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 4
แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปรัชญา วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
วัตถุประสงค์
กระตุ้น สนับสนุนเกษตรกร
แนะนำและส่งเสริม
ให้เกษตรกรเข้าใจปัญหาและความต้องการที่แท้จริง
ให้เกษตรมีโอกาสพัฒนา
ให้เกษตรกรมีโลกทัศน์กว้างขึ้น
สร้างความภูมิใจในอาชีพตนเอง
เป้าหมาย
ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือทั่วถึง
นำความรู้มารู้มาใช้ประโยชน์ได้รวดเร็ว
ให้ความรู้ด้วยวีธีทันสมัย
เพิ่มขีดความสามารถนักส่งเสริม
เพิ่มความรู้ ประสบการณ์นักส่งเสริม
มีอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอ
ปรัชญา
ต้องเข้าถึงถิ่นของเกษตรกร
ต้องช่วยเกษตรกรให้ช่วยเหลือตัวเองได้
อาศัยพื้นฐานความเข้าใจและปัญหาของเกษตรกร
ต้องการการมีส่วนร่วมของนักส่งเสริม
การส่งเสริมและพัฒนากับ
การพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน
บทบาทและความสัมพันธ์
บทบาท
พัฒนาผลผลิตเกษตร
แก้ไขปัญหาการเกษตร
ความสัมพันธ์
เชิงระดับ
เชิงเนื้อหาสาระ
การประยุกต์ผลงานวิจัย
การวิจัยทางการเกษตร
รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
นวัตกรรมการเกษตรเพื่อการส่งเสริม
การส่งเสริมเกษตร
ทฤษฎีใหม่
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมและพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน
การส่งเสริมตามนโยบาย4.0
ที่มาความหมาย
ความสำคัญ
และขอบเขต
ที่มา
ความต้องการอาหาร
การพัฒนาการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตร
การพัฒนาผลผลิตของเกษตรกร
ขอบเขต
พัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
ตลาดและอุตสาหกรรมการแปรรูปผลผลิต
การจัดการไร่นาและครัวเรือนเกษตรกร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร
การพัฒนาเยาวชน
การพัฒนาผู้นำเกษตรกรและแม่บ้าน
การพัฒนาชุมชนชนบท
ความสำคัญ
เป็นพื้นฐานของการผลิตอาหาร
พัฒนาความรู้แก่เกษตรกร
พัฒนาครอบครัวและชีวิตเกษตรกร
พัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
พัฒนารายได้
พัฒนาประเทศ
ระบบแบะรูปแบบ
และวิธีการส่งเสริม
วิธีการส่งเสริม
อิงบุคคลเป้าหมาย
บุคคลต่อบุคคล
กลุ่มบุคคล
แบบมวลชน
อิงวัตถุประสงค์
เรื่องเดี่ยว
หลายเรื่องที่เกี่ยวข้องพร้อมกัน
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับฟาร์มและบ้านเรือน
ท้องที่ใดที่หนึ่งเป็นเป้าหมาย
อิงเจ้าหน้าที
ใช้ change agent
ใช้ทีมนักวิชาการ
ใช้เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ใช้เจ้าหน้าที่เป็นสื่อมวลชน
อิงชุมชน
ศูนย์ถ่ายทอดประจำตำบล
ศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบล
การถ่ายทอดความรู้แบบบูรณาการ
อิงเทคโนโลยี
ระบบ
แบบรวมศูนย์กลางที่ควบคุมโดยรัฐบาล
แบบกระจายสู่จุดผลิตหรือท้องถิ่น
ส่งเสริมโดยสถาบันการศึกษา
ส่งเสริมโดยภาคเอกชน
ระบบการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
รูปแบบและวิธีการ
ทั่วไป
เป็นทางการ
ฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
ทางเลือก
มุ่งพัฒนาผลผลิตการเกษตรเฉพาะอย่าง
แบบมีส่วนร่วม
แบบโครงการ
แบบการพัฒนาระบบฟาร์ม
แบบร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
แบบเกษตรพันธสัญญา