Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
การประเมิน
เพื่อการวินิจฉัยสตรีที่ติดเชื้อ Hepatitis B virus ขณะตั้งครรภ์ สามารถประเมินโดยการ
ซักประวัติ
มีอาการแสดงของโรคตับอักเสบ
การตรüจร่างกาย
พบอาการและอาการแÿดง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลือง ตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทำงานของตับ และตรวจหา Antigen และ Antibody ของไวรัส
การรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
กรณีได้รับการüินิจฉัยว่าาติดเชื้อ Hepatitis B virus ให้การรักษา
แนะนำให้พาสมาชิกในครอบครัวและสามีมาตรวจเลือด หลีกเลี่ยงการทำหัตถการที่จะทำให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีแก่ทารกในครรภ์ มารดาหลังคลอดที่ติดเชื้อ Hepatitis B virus สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมารดาได้ทันที
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด และทารกที่คลอดมามีโอกาสที่จะติดเชื้อได้
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปดท้อง
ปวดบริเüณชายโครงขวา คลำพบตับ
โต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชาแก่
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพให้สตรีตั้งครรภ์และทารกมีสุขภาพที่แข็งแรง
และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ จึงควรแนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ ย่อยง่าย ให้พลังงานสูง ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกัน
ระยะคลอด หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ ศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดสิ่งหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุด
ระยะหลังคลอด แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี และนำบุตรมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามอาการและป้องกันการติดเชื้อ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus ผ่านทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก
พยาธิสภาพ
ระยะแรก เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วได้รับเชื้อจะยังไม่มีอาการแสดงของการได้รับเชื้อและเอนไซม์ตับปกติ
ระยะที่สอง ประมาณ 2-3 เดือนหลังจากได้รับเชื้อร่างกายจะสร้าง Anti-HBeขึ้นมาเพื่อทำลาย HBeAg
ระยะที่สาม เป็นระยะที่ Anti-HBe ทำลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/ml
ระยะที่สี่ เป็นระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่
หัดเยอรมัน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ
การติดเชื้อหัดเยอรมันระหว่างตั้งครรภ์ไม่ทำให้อาการของโรครุนแรงขึ้น
ผลกระทบต่อทารก
คüามผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว เช่น ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง
ความผิดปกติถาวร ได้แก่ หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด แต่ปรากฏภายหลัง เช่น ภาวะเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์
การประเมิน
การซักประวัติ
การสัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
อาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย
การตรจทางห้องปฏิบัติการ
โดยตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI) เพื่อหา titer ของ Antibody ของเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ ต่อน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปüดข้อ โดยไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหายไป หลังจากนั้นจะมีผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง (Maculopapular) มองเห็นเป็นปื้นหรือจุดกระจัดกระจาย
การรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นüิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
ขณะตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก ควรหลีกเลี่ยงให้ห่างจากผู้ที่เป็น
เมื่อผลการตรวจพบü่าติดหัดเยอรมันในขณะตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก แนะนำให้ทำยุติการตั้งครรภ์
สาเหตุ
เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ Rubella
virus (German measles virus) โดยติดต่อผ่านทางเดินหายใจ
พยาธิสภาพ
ภายĀลังการรับเชื้อหัดเยอรมันเข้าÿู่ร่างกาย เชื้อจะแพร่กระจายไปทางกระแสเลือด เชื้อจะมีผลต่อร่างกายใน 2 ลักษณะ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก
กลุ่มนี้จะตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว และจะกลายเป็นพาหะของโรคต่อไป
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก
คือมีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลำตัวและแขนขา ลักษณะของผื่นจะเป็นตุ่ม
ข้อวินิจฉัยทางการพบาบาล
ทารกในครรภ์เÿี่ยงต่อการพิการแต่กำเนิด เนื่องจากสตรี
ตั้งครรภ์มีการติดเชื้อหัดเยอรมันในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีüัยเจริญพันธ์ุที่ยังไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน
หลีกเลี่ยงการเข้าชุมชนในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อหัดเยอรมัน
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ และมารับการตรüจที่โรงพยาบาลทันที
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคĀัดเยอรมัน
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัüได้ระบายความรู้สึกและซักถาม
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินของโรค ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และต่อทารกในครรภ์
การติดเชื้อไวรัวซิก้า
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 3 อาการที่พบบ่อยในคือ มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
และบางการรักษาาพบผื่นหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดจากมารดาที่ติดเชื้อไวรัสซิกา มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การประเมิน
การซักประวัติ
การสัมผัสผู้ป่วยในชุมชนที่มีประüวัติการติด
เชื้อไวรัสซิกา และให้มีการบันทึกไว้ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
การตรวจร่างกาย
มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ำเกลืองโต ตัวเหลือง ซีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยüิธี Reverse Transcriptase Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) และการตรวจหาาภูมิคุ้มกัน ( IgM) ด้วยüิธี ELISA
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มักมีอาการไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อย
ตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ป้องกันการติดเชื้อไวรัสซิกาขณะตั้งครรภ์
การพยาบาล
ใช้ยากำจัดแมลงหรือยาทาป้องกันยุงกัดนอนในมุ้ง และปิดหน้าต่าง ปิดประตูหรือใช้มุ้งลวดติดป้องกันยุงเข้าบ้าน
สวมเสื้อผ้าเนื้อหนาสีอ่อน ๆ ที่สามารถคลุมผิวหนังและร่างกายได้มิดชิด
ควรหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาดของโรค
หากมีอาการไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ หรืออาการที่สงสัยว่าอาจเป็นโรคนี้ ควรรีบปรึกษาแพทย์
ในระยะ 7 วันที่เริ่มมีไข้ จะมีปริมาณของเชื้อไวรัสในกระแสเลือดจำนวนมาก หากถูกยุงกัดในช่วงนี้จะÿามารถแพร่กระจายเชื้อให้ผู้อื่น
สาเหตุ
โรคติดเชื้อไวรัสซิกาหรือไข้ซิกา (Zika Virus Disease; ZIKV) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส (Flavivirus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค
พยาธิสภาพ
สามารถติดต่อได้โดยการถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด และโรคนี้ยังสามารถติดต่อ จากคนสู่คนได้โดยผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์มีระยะฟักตัว
3-12 วัน ก่อนแสดงอาการ สามารถพบเชื้อนี้ในน้ำอสุจิได้นาน 6เดือน
การติดเชื้อโปรโตซัว
ผลกระทบต่อสตรีั้งครรภ์
การแท้ง คลอดก่อนกำเนิด ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ผลกระทบต่อทารก
ทารกติดเชื้อในครรภ์ กรณีทื่ทารกมีการติดเชื้อแต่กำเนิดทารกแรกเกิดจะมีลักษณะสำคัญ คือ ไข้ ชัก ทารกหัวบาตร หินปูนจับในสมอง
การประเมิน
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค เช่น แมว
การตรวจร่างกาย
มักไม่แสดงอาการ หรือมีอ่อนเพลียเล็กน้อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อทดสอบน้ำเหลืองดู titer IgG และ IgM ประเมินลักษณะสุภาพของทารกในครรภ์
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ ถ้ามีจะมีอาการน้อย คือ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพดี แข็งแรง
และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา และการสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ในขณะรอคลอด และขณะคลอด ควรแยกห้องคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวีงการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
สาเหตุ
โดยติดเชื้อได้ทั้งในคนและสัตว์มีพาหะหลักคือ แมวการติดต่อเกิดขึ้นได้โดยการรับประทานผัก
สุกใส
อาการและอาการแสดง
มักจะมีไข้ต่ำ ๆ นำมาก่อนประมาณ 1-2 วันแล้üค่อยมีผื่นขึ้นโดยตุ่มจะทยอยขึ้นเต็มที่ภายใน 4 วันหลังจากนั้นจะพัฒนาไปเป็นตุ่มหนอง และแสดงลงจนตกสะเก็ดในที่สุด
การประเมิน
การซักประวัติ
การสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใสหรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ
การตรวจร่างกาย
มีไข้มีผื่นตุ่มน้ำใสตามไรผม ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาาแอนติบอดีชนิด IgG ต่อไวรัสสุกใสไวรัวงูสüัด (VZV) ด้วยเทคนิค ELISA
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีปัญหาภาวะปอดอักเสบหรือปอดบวม ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
การติดเชื้อในครรภ์ โดยทารกในครรภ์มีโอกาสติดได้ร้อยละ 10 เท่าๆ กันทุกไตรมาสการติดเชื้อปริกำเนิด อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก และช่องทางคลอด โดยมีความเสี่ยงสูงในรายที่สตรีตั้งครรภ์ตมีการติดเชื้อสุกใสในระยะก่อนคลอด 5 วัน และหลังคลอด 2 วัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ส่งเสริมสุภาพสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์จากการติดเชื้อสุกใส และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค โดยอธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงภาวะของโรค การแพร่กระจายเชื้อและการปฏิบัติตน
ระยะคลอด
ขณะคลอดคüรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ทำความ
สะอาดร่างกายทันทีหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค โดยการใช้หลัก Universalprecaution
ในการสัมผัสน้ำคาวปลา แนะนำใĀ้แยกของใช้สำหรับมารดา และทารก
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัสชื่อ Varicella-zoster virus (HZV)
พยาธิสภาพ
เข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ ซึ่งเชื้อโรคมีระยะฟักตัวนาน 10-20 วันCongenital varicella syndrome ซึ่งเกิด
จากการติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยมารดาติดเชื้อไวรัสสุกใสขณะตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีผลต่อความพิการ
การติดเชื้อโควิด ขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ภูมิต้านของร่างกายขณะตั้งครรภ์ลดต่ำลง
ผลกระทบต่อทารก
พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ำหนักตัüน้อย คลอดก่อนกำหนด และการติดเชื้อไวรัส
การประเมิน
การซักประวัติ
ระüัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย
มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ ตรจหา Viral nucleic acid ด้วยวิธี Real-Time
Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) จากสารคัดหลั่ง
การส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
อาการและอาการแสดง
ไม่แสดงอาการใด ๆ และมีอาการและอาการแสดงของอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีีโอกาสติดเชื้อ COVID-19 ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
เนื่องจากอาศัยอยู่ในแหล่งของการระบาด
การพบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้
รักษาระยะห่าง social distancing ในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะรับประทานอาหารและของใช้ส่วนตัว ร่วมกับผู้อื่น
เน้นย้ำให้สตรีตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกติ หากมีอาการ
ผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนวันนัด
ปฏิบัติการพยาบาลในระยะคลอด ในผู้คลอดที่มีผลตรวจเป็นลบ ควรได้รับการ
ทดสอบโคüิด-19 ซ้ำอีกครั้งก่อนที่จะเลือกวิธีการคลอด
สาเหตุ
เชื้อไวรัสตระกูล Corona ชื่อ SARS-CoV-2 ชื่อของโรคติดเชื้อชนิดนี้เรียกว่า COVID-19
พยาธิสภาพ
เชื้อไวรัสต้องเข้าไปแบ่งตัวและเจริญเติบโตในเซลล์ร่างกาย เช่น เซลล์ของเยื่อบุหลอดลม ผิวเซลล์ของไวรัสจับกับ Angiotensin converting enzyme II ที่ผิวเซลล์ในร่างกายทำให้เกิดการเจริญของเซลล์ การที่เชื้อเพิ่มจำนวนมากขึ้นและเข้าไปในเซลล์
ข้างเคียงอีกหลายรอบจะทำลายเซลล์ในหลอดลมและปอด ทำให้ปอดอักเสบและการหายใจล้มเหลว