Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 กระบวนการบริหารและจิตวิทยาในการบริหารงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 4
กระบวนการบริหารและจิตวิทยาในการบริหารงาน
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผนการบริหารงาน
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดด้านการวางแผนการบริหารงานฯ
การวางแผน คือ กระบวนการในการกำหนดเป้าหมายไว้ในอนาคต และการปฏิบัติงานที่จะให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ความสำคัญของการวางแผน
ช่วยให้การประสานงานกับหน่วยอื่นได้ง่าย
ช่วยลดความกดดันจากสถานการณ์ภายนอก
ช่วยให้การดำเนินงานมีความต่อเนื่อง
ช่วยทำให้ทุกระดับและหน่วยงานในองค์การสามารถทำงานสอดคล้องกัน
ช่วยลดความผิดพลาดในการตัดสินใจ
ช่วยพัฒนาวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร
ช่วยให้วัดผลหรือประเมินผลสำเร็จได้ง่ายขึ้น
ช่วยปรับปรุงภาพลักษณ์ขององค์การ
ทำให้การบริหารงานง่ายขึ้น
ส่งเสริมให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันมากขึ้น
ช่วยชี้บอกทิศทางในการออกแบบงาน
ช่วยให้เกิดการประหยัด
เป็นการกำหนดทิศทางให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
ลักษณะแผนที่ดี
บุคลากรในองค์การมีส่วนร่วมวางแผน
มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
ตอบสนองความต้องการลูกค้า
คำนึงถึงสภาวะแวดล้อม
เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สามารถปรับได้
มีความชัดเจน
ประเภทของแผน
แผนตามระดับการบริหาร
แผนตามสายงาน
แผนตามระดับองค์การ
แผนตามหลักเศรษฐศาสตร์
แผนตามการใช้งาน
แผนตามวัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน
แผนตามระยะเวลา
ข้อจำกัดของการวางแผน
นโยบายและวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน
นำประโยชน์ส่วนตนมาเกี่ยวข้อง
ระยะเวลาที่เหมาะสม
ขาดการวิเคราะห์
ขาดข้อมูลที่เชื่อถือได้
ทัศนคติและค่านิยมของผู้บริหาร
ไม่ใช้หลักวิชาการ ปฏิบัติแล้วไม่เกิดประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการวางแผนการบริหารงานฯ
ขั้นตอนการวางแผนระดับองค์กร
การวางทิศทางองค์กร
การกำหนดกลยุทธ์
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ขั้นตอนการวางแผนระดับโครงการหรือปฏิบัติการ
การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
การกำหนดแผน
การวิเคราะห์สถานการณ์
การจัดองค์การ การจัดบุคลากร การอำนวยการ
การควบคุม และการประเมินผลในการบริหารฯ
การจัดองค์การ การจัดบุคลากรเข้าทำงาน
ในการบริหารฯ
การจัดองค์การ
คือ กระบวนการการแบ่งกลุ่มงาน กิจกรรม
ออกเป็นหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ
ความสำคัญของการจัดองค์การ เพื่อให้การบริหารมีประสิทธิภาพ
หลักในการจัดองค์การที่ดี
หลักความสมดุล
หลักความต่อเนื่อง
หลักความรับผิดชอบ
หลักการติดต่อและโต้ตอบกัน
หลักการบังคับบัญชา
หลักขอบเขตของการควบคุม
หลักการประสานงาน
หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา
หลักความรู้ความสามารถเฉพาะอย่าง
หลักตามลำดับขั้น
หลักวัตถุประสงค์
หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง
กระบวนการในการจัดองค์การ
การจัดกลุ่มงานหรือกาจัดแผนกงาน
การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างงาน
การออกแบบงาน
การกระจายอำนาจหน้าที่
การจัดบุคลากรเข้าทำงาน
คือ กระบวนการวางนโยบาย ระเบียบ การดำเนินงาน
เกี่ยวกับบุคคลให้เหมาะสมในการทำงาน
กระบวนการจัดคนเข้าทำงาน
การบรรจุแต่งตั้งและปฐมนิเทศ
การพัฒนา และฝึกอบรม
การสรรหาและการคัดเลือก
การโยกย้ายและการเลื่อนตำแหน่ง
การวางแผนกำลังคน
การนิเทศงาน
การกำหนดนโยบายการจ้าง
การออกจากงาน
การอำนวยการ การควบคุม และ
การประเมินผลในการบริหารฯ
การอำนวยการ
การมอบหมายและสั่งการ
การประสานงาน
การควบคุมและการบริหารงาน
การตรวจเยี่ยม
การรายงาน
การควบคุมงานโดยใช้เทคนิค PERT
การใช้ห้องปฏิบัติการ
แผนภูมิของแกนท์
การกำหนดมาตรฐานของงาน
งบประมาณ
การควบคุมวงจรคุณภาพ PDCA
การประเมินผล
คือ การผลของการนำแผนไปปฏิบัติเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้
ประโยชน์ของการประเมินผล
ทำให้ทราบสภาวะการณ์ต่างๆ
ให้ข้อมูลพิจารณาระหว่างโครงการที่มีการแข่งขัน
ทำให้ทราบผลการดำเนินงาน
ทำให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ร่วมงาน
ทำให้ทราบความก้าวหน้าของงาน
เป็นแหล่งข้อมูลในการทำรายงาน
ช่วยในการตัดสินใจก่อนเริ่มทำโครงการ
ประเภทของการประเมินผล
แบ่งตามลำดับเวลาที่ประเมิน
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการประเมินผล
กระบวนการในการประเมินผล
ออกแบบการประเมินผล
กำหนดเครื่องมือการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์
เก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผล
วิเคราะห์ข้อมูล
ศึกษาและวิเคราะห์งาน/โครงการ
ทำรายงาน
แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ และบทบาทในการบริหารฯ
ความหมาย
การบริหารจัดการ คือ การกำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายองค์กร
จิตวิทยาการบริหาร คือ การศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของคนที่อยู่ร่วมกัน และแต่ละคนมีบทบาทตามที่กำหนดไว้
จิตวิทยา คือ ศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ กระบวนความคิดและพฤติกรรมของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จิตวิทยาในการบริหารงานส่งเสริมฯ คือ ศาสตร์ที่ให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมของนักบริหาร พฤติกรรมในการบริหารงาน การจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ความสำคัญของจิตวิทยา
ความสำคัญต่อนักบริหาร
ความสำคัญต่อนักส่งเสริมการเกษตร
ความสำคัญต่อองค์กร
ความสำคัญต่อเกษตรกร
บทบาทของจิตวิทยา
การพัฒนาการบริหารงาน
งานและจุดมุ่งหมายการทำงาน
การเปลี่ยนพฤติกรรมของนักบริหารและนักส่งเสริมการเกษตร
การเสริมสร้างคุณภาพงาน
ความต้องการของเกษตรกร
การพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร
ปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มิอิทธิพลต่อการบริหารฯ
ปัจจัยด้านจิตวิทยาของนักบริหารงานส่งเสริมฯ
ภาวะผู้นำ
การตัดสินใจ
ปัจจัยด้านจิตวิทยาของนักส่งเสริมการเกษตร
การตัดสินใจเลือกติดตามผู้นำ
ภาวะผู้ตาม
ปัจจัยด้านจิตวิทยาของเกษตรกร
รูปแบบและพฤติกรรมของเกษตรกร
พฤติกรรมการยอมรับของเกษตรกร
จิตวิทยาสำหรับนักบริหารและนักส่งเสริมการเกษตร
จิตวิทยาสำหรับนักบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
การใช้จิตวิทยาเพื่อการจูงใจในการปฏิบัติงาน
การใช้จิตวิทยาเพื่อสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
การใช้จิตวิทยาเพื่อการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
จิตวิทยาสำหรับนักส่งเสริมการเกษตร
การใช้จิตวิทยาเพื่อการจูงใจเกษตรกร
การใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การใช้จิตวิทยาเพื่อพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร