Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชาวพุทธมารยาทชาวพุทธ, ๑.๒ประโยชน์ของการบรรพชาและอุปสมบท - Coggle…
หน้าที่ชาวพุทธมารยาทชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ คือ สิ่งที่ชาวพุทธทั่วไปต้องเรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบและปฏิบัติตนได้ถูกต้องในที่นี้จะกล่าวถึงเรื่องการบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
การบรรพชา การเว้นจากความชั่วทุกอย่าง เดิมคำว่าบรรพชาหมายความว่าการบวชเป็นภิกษุ
อุปสมบท การเข้าถึงสภาวะอันสูง หมายถึง การบวชเป็นภิกษุ
๑.๑ประเภทของการบรรพชาและอุปสมบท
๑.เอหิภิกขุอุปสัมปทา
๒.ติสรณคมนูปสัมปทา
๓.โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
๔.ปัญหาพยากรณูสัมปทา
๕.ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมทา
๖.ทูเตนอุปสัมปทา
๗.อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา
๘.ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา
๒.การบวชชี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี
ชี หมายถึง สตรีผู้นุ่งขาวห่มขาว โกนผม โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล 8
ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี หมายถึง สตรีที่นุ่งขาวห่มขาว ไม่โกนผม ไว้โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล 8
๒.๑วิธีการบวช
๑.ผู้ขอบวชต้องแต่งกายชุดขาว พร้อมสไบขาว
๒.ตัวแทนผู้ขอบวชถวายธูปเทียนแพแด่พระส่งจำนวน 1 รูป หรือ 4รูปขึ้นไป
๓.กราบ 3ครั้ง
๔.กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
๕.กล่าวคำอาราธนาศีล 8
๖.รับไตรสรณคมน์
๗.สมาทานศีล 8
๙.นำเครื่องสักการะไปถวายพระอาจารย์ รับฟังโอวาท เป็นอันเสร็จพิธี
๒.๒ประโยชน์ของการบวช
๑.เพื่อฝึกฝนอบรมตน
๒.เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศลให้ยิ่งๆขึ้นไป
๓.เพื่อให้จิตสงบ ปราศจากความฟุ้งซ่าน
๔.เพื่อปลดเปลื้องตนให้พ้นจากความทุกข์
๓.การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และธรรมศึกษา
ความเป็นมาของโรงเรียนพุทธศาสนาอาทิตย์
โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์และประเทศไทย เริ่มมาจากการติดของพระนิมนธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) ตรงสะพานนายกมหาจุฬาลงกรณ์ณราชวิทยาลัย หลังจากได้เดินทางไปดูงานด้านพระพุทธศาสนาที่ประเทศพม่าและศรีลังกา ได้พบเห็นการสอนพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์ ในประเทศนั้นๆ และเห็นว่ามีผลดีมาก
๓.๒วัตถุประสงค์ของการจัดธรรมการศึกษา
๑.เพื่อเปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนที่เป็นคฤหัสถ์มีโอโอกาสศึกษาพุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พระธรรม พระวินัย พุทธศาสนาสุภาษิต ศาสนพิธีอย่างถูกต้อง
๒.เพื่อให้คฤหัสถ์สามารถนำหลักธรรมมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิต
๓.เพื่อความมั่นคงและแพร่หลายยิ่งขึ้นไปของพระพุทธศาสนา
๔.เพื่อสร้างสังคมคุณภาพ รวมทั้งพัฒนาพระสงฆ์ให้มีความสามารถในการเผยแพร่หลักธรรม
๓.๑วัตถุประสงค์ของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
๑.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านพระพุทธศาสนา
๒.ผู้ส่งเสริมความรู้และผู้ฟังศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้กับเด็กและเยาวชน
๓.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใกล้ชิดกับพระภิกษุสงฆ์และสามเณร
๔.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ธรรมศึกษา คือ การจัดการศึกษาพระพุทธศาสนาสำหรับคฤหัสถ์
๑.งานบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
๔.การปลูกจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
สังคม หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ต้องมีการปฏิสัมพันธ์กัน
สังคมพุทธ หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ซึ่งประกอบด้วยพุทธบริษัท 4 ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา
๑.การบวช วิธีหนึ่งของการสร้างสมาชิกให้กับสังคมพุทธ คือการที่ผู้ชายต้องทำหน้าที่บวชเรียนพระธรรมวินัยเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ต่อไปหวังใดมี
๒.ศึกษาคำสอนและปฏิบัติตามคำสั่ง เรียนรู้กฎแห่งกรรม ก็จะต้องละเวรกรรมชั่วทำแต่กรรมดี เมื่อเรียนเรื่องความหลุดพ้นจากกิเลส ก็จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นผู้หลุดพ้นตามแนวคำสอนของพระพุทธศาสนา
๓.เผยแพร่คำสอน
๔.ปกป้องและรักษาพระพุทธศาสนา
๕.การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครอง และผู้อยู่ในปกครองตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ ๖
๖.การเข้าค่ายพุทธธรรม
ค่ายคุณธรรม ค่าที่จัดขึ้นเพื่อฝึกอบรมส่งเสริมคุณธรรมให้กับนักเรียน เพื่อให้มีโอกาสเรียนรู้และฝึกปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี
ประโยชน์ของการเข้าค่ายคุณธรรม
๑.ปลูกฝังนิสัยที่ดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา
๒.รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
๓.เรียนรู้หลักธรรมและปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน
๔.และฝึกอบรมจิต ฝึกใช้ชีวิตของตนถือเพศพรหมจรรย์
๗.การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
๑.การมอบตัวกับพระอาจารย์ ผู้ปกครองหรือครูนำตัวเด็กไปพบพระอาจารย์พร้อมดอกไม้ธูปเทียน
๒.สถานที่ ควรจัดในสถานที่ที่เหมาะสม เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ หอประชุม เป็นต้น
๓.วิธีการ ให้ผู้แสดงตน หรือตัวแทน จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นปฏิบัติตามขั้นตอน
๘.การเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา คือ วิธีการในการประกอบพิธีหรือกิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น พิธีเวียนเทียน เข้าพรรษา ถวายเทียนพรรษา เป็นต้น
ความสำคัญของการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
๑.เป็นเครื่องยึดแนวจิตใจของคนในสังคม
๒.เป็นจุดนัดหมายให้ตั้งใจเริ่มต้นเตรียมตัวให้พร้อม
๓.เป็นเครื่องควบคุมกาย วาจา และใจให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
๔.เป็นอุบายที่ทำให้คนหมู่มากอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข
การประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนามีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้
๑.เรียบง่าย ๒.ไม่ฟุ่มเฟือย
๓.ไม่ยุ่งยาก ไม่มีพิธีรีตองมาก ๔.ถูกต้องตามประเพณีนิยม
มารยาทชาวพุทธ
มารยาทการเเต่งกาย
มารยาทในการเเต่งกาย คือ ความคิดเกี่ยวกับการเเต่งกายทั้งของเดิมที่มีมาในอดีตเเละของสังคมตะวันตกที่คนไทยรับมาปฎิบัติความถูกต้องรู้จักเเละเลือกแสดงให้เหมาะสมเเก่กาลเทศเเละบุคคลโดยคำนึงถึงโอกาศเเละกิจกรรมเป็นหลักสำคัญเกี่ยวกับการเเต่งกาย
1.ความสะอาด ร่างกายควรให้สะอาดหมดจดทุกสัดส่วนตั้งเเต่ ผม ปาก ฟัน หน้าตา มือ เเขน ลำตัว ขาและเท้าเล็บมือเเละเล็บเท้า ความสะอาดที่พึงเอาใจใส่เป็นพิเศษ
ในเรื่องการเเต่งกาย
2.ความสุขภาพเรียบร้อย ควรมีตั้งเเต่ศรีษะจรดเท้า รวมทั้งเครื่องประดับ กระเป๋า ถุงน่อง ร้องเท้า
3.ความถูกต้องตามกาลเทศะ การเลือกเเต่งกายให้ถูกต้องเหมาะสมกับเวลา ยุค เเละสมัยนิยม เเละเลือกเเต่งกายให้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานที่จะไปนั้น
มารยาทในการยืน
การยืนกับผู้ใหญ่
ถ้าไม่จำเป็นไม่ควรยืนตรงหน้าผู้ใหญ่ เเต่ควรยืนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง ดังนี้คือ ขาชิดปลายเท้าห่างกันเล็กน้อยมือทั้งสองเเนบชิดข้าง ท่าทางสำรวม
การยืนตามลำพัง
ขาทั้งสองข้างชิดกันหรืออยู่ในท่าพักเเขน ปล่อยเเนบลำตัว หรือประสานใว้ข้างหน้าเล็กน้อย อย่ายืนกลางขา เเกว่งเเขนหันหย้าไปมา
มารยาทในการเดิน
1.การเดินควรเดินอย่างสุภาพ หลังตรง
2.การเดินกับผู้ใหญ่ ควรเดินเยื้องไปทางซ้ายหลังผู้ใหญ่ห่างกันพอประมาณตามสภาพของสถาณที่เเต่ให้อยู่ในลักษณะนอบน้อม
3.การเดินผ่านผู้ใหญ่ในการเดินไปทางซ้านให้เดินข่อมหัวมาน้อยตามอาวุโส ถ้าผู้ใหญ่ทักทายให้หยุดเดินน้อมกายลงพูดด้วย เมื่อจบเเล้วใหว้ครั้งนึ่งเเล้วน้อมตัวเดินออกไป
มารยาทชาวพุทธ
เป็นการเเสดงออกที่มีเเบบเเผนในการประพฤติปฎิบัติ ซึ้งเป็นเเนวทางที่ที่ทำให้สมาชิกในสังคมสามารถดำรงอยู่ร่วมกันด้วยดี โดยเฉพาะมารยาทชาวพุทธ ที่หล่อหลอมมาจาก หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา เป็นกริยาวาจาบุคคล ในสังคมพึงปฎิบัติต่อกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเองเเละสังคมที่มีลักษณะของชาวพุทธในประเทศไทยเเม้จะไม่สำคัญเท่าหลักธรรมคำสอนโดยตรงเเต่มีส่วนในการสร้างความรัก
๑.๒ประโยชน์ของการบรรพชาและอุปสมบท
๑.เพื่อเรียนรู้พระธรรมวินัย ฝึกฝนพัฒนาตนเอง ผู้ป่วยจะต้องเรียนรู้พระธรรมวินัยควบคู่ไปกับการปฏิบัติธรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า บวชเรียน
๒.เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไป เพราะถ้าไม่มีพระสงฆ์ พระรัตนตรัยก็จะไม่ครบองค์ 3
๓.เพื่อฝึกฝนอบรมให้รู้จักอดทน อดกลั้น ในอดีตผู้ที่บวชเรียนแล้วจะเรียกว่า "ทิด"
๔.เพื่อดำรงตนให้เป็นพลเมืองดีของสังคม เพราะผู้ที่ผ่านการบวชเรียนแล้วย่อมจะได้รับโอกาสในการฝึกอบรมทั้งกาย วาจาและใจ