Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune System) - Coggle Diagram
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune System)
ระบบที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับภูมิต้านทานของร่างกาย ที่เฉพาะเจาะจง หรือหลังจากการติดเชื้อ
ภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด
(innate หรือ natural immunity)
ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นภายหลัง (acquired immunity)
เซลล์ที่ทำหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกัน
Monocyte และ Macrophage
มีนิวเคลียสเป็นรูปไข่ หรือ
เกือกม้า ไม่มี Lobe ไม่มีแกรนูล
2.1 monocyte
มีอายุในกระแสเลือด 5-6 วัน
2.2 macrophage
มีความสามารถในการจับกิน Ag ที่มีขนาดใหญ่ได้โดยหลายๆเซลล์ของมันจะรวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่เรียกว่า multinucleated giant cell เพื่อจับกิน Ag
ทำหน้าที่เป็น
antigen – presenting cel
Polymorphonuclear cell
1.1 Neutrophil
มีมากที่สุดในเลือดประมาณ 60 – 70%
ด่านแรกทำลายแอนติเจนที่ไม่จำเพาะเจาะจงได้หลายชนิด โดยขบวนการ Phagocytosis
1.2 Eosinophil
ที่เลือกกินเฉพาะ Ag – Ab complex ในภาวะภูมิไวเกิน ชนิด anaphylactic hypersensitivity
1.3 Basophil
ภายในมีแกรนูลที่บรรจุ histamine และ Slow reacting substance of anaphylactic
บทบาทสำคัญในภาวะ
ภูมิไวเกินชนิด anaphylactic hypersensitivity
1.4 Mast cell
เซลล์รูปไข่ มีแกรนูลขนาดเล็กกว่า basophil ที่ผนังเซลล์มี IgE surface receptor จึงทำให้เกิดภาวะภูมิไวเกินชนิด anaphylactic ได้
Lymphocyte
T-lymphocyte
70-80%
ต่อต้านสิ่งแปลกปลอม
การติดเชื้อ และ
เซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเซลล์ปกติ
helper T – cell (TH )
ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
Suppressor T cell (TS )
ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันไม่ให้มีมากเกินไป
Cytotoxic T – cell (TC )
ทำลายสิ่ง
แปลกปลอมทุกชนิดที่สำคัญ ทำให้เซลล์นั้นแตกสลาย (Cytolysis)
Memory T – cell (TM)
ทำหน้าที่จดจำ Ag เป็นเซลล์ที่มีอายุยืนหลายปีมีจำนวนน้อย
แต่เมื่อสัมผัสกับ Ag อีกครั้ง TM จะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนได้อย่างรวดเร็ว
** Lymphokines (Lymphocyte mediators)
เป็นสารน้ำที่ส่วนใหญ่สร้างจาก T cell โดยหลั่ง
ออกมาเพื่อสื่อสารกับเซลล์อื่น ๆ ให้ร่วมมือในการกำจัดสิ่งแปลกปลอม
B-lymphocyte 12-15%
เป็นเซลล์ต้นกำเนิดของ plasma cell ซึ่งผลิต
Immunoglobulin (Ig) Āรือ antibody (Ab) ชนิดต่าง ๆ
Invasion by
pathogens
Non Specific defense
Mechanisms
1.Barriers
skin,Mucous lining of
respiratory passages
2.Phagocytosis
การจับกินของเซลล์ neutrophil และ macrophage
3.Fever
สมองจะปรับ setpoint อุณหภูมิในร่างกายให้สูงขึ้น ทำให้เกิดอาการไข้
4.Inflammation
ตอบสนองโดยการอักเสบ
5.Interferon
ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อไวรัส และกระตุ้นการทำงานของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน
6.Complement (C)
ถูกสร้างจากตับทำหน้าที่สลายเซลล์หรือหลั่งสารเคมี
Specific defense
Mechanisms
1.Cell mediated immune response (CMIR)
ภูมิต้านทานที่ผ่านเซลล์เป็นการทำงานร่วมกันของ T-lymphocyte และ macrophage
2.Humoral immune response (HIR)
เกิดเมื่อมีแอนติเจนเข้าสู่ร่างกาย B-cell ในพลาสมาสร้าง แอนติบอดีหรือ Immunoglobulin (Ig) ขึ้นมาทำลายแอนติเจนที่มากระตุ้น และแอนติบอดี้นี้ยังสามารถ นำไปให้กับผู้ที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันนี้ได้โดยการถ่ายplasma/serum
Immunoglobulin
กลไกการสร้าง
Immune recognition
เกี่ยวกับความจำเพาะของแอนติบอดีนั้น ๆโดย Ab จะมีความสามารถในการรับรู้แยกแยะและทำปฏิกิริยาได้อย่างจำเพาะกับ Ag แต่ละชนิด
Effector function
เกิดปฏิกิริยาระหว่าง Ag และ Ab ทำให้เกิดผลทางชีวภาพต่าง ๆ ที่มีความสำคัญในการต่อต้านโรคต่าง ๆ
ชนิดของ Immunoglobulin
IgG มี4 ชนิด คือ IgG1, IgG2, IgG3 และ IgG4 มีขนาดเล็กที่สุดและมากที่สุดในเลือด
IgA พบในสารคัดหลั่งมากกว่าเลือด ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันเยื่อบุผิวไม่ให้ Ag มาเกาะ
IgM มีขนาดใหญ่ที่สุดไม่สามารถผ่านรกหรือผนังหลอดเลือดได้สามารถจับกับComplement ได้ดี บทบาทสำคัญในการทำลายเชื้อแบคทีเรียกรัมลบ และเป็น Ab ของหมู่เลือด
IgD ทำหน้าที่ช่วยควบคุมการตอบÿนองของระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยในการสร้าง plasma Cell และ memory B Cell
IgE สร้างจาก plasma cell ในระบบทางเดินหายใจและเยื่อบุลำไส้เล็ก
พยาธิสรีรภาพของระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน (Immunodeficiency)
Primary immune deficiency มักเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือเกิดโดยไม่มีสาเหตุนำโดยเป็นแต่กำเนิด มักพบความผิดปกติทางพัฒนาการ
Secondary immune deficiency เป็นผลจากโรคอื่นๆ
ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity)
Immediate hypersensitivity เกิดทันทีภายในเวลาไม่ถึงนาทีหรือชั่วโมง เป็นการตอบสนอง โดยใช้ AB เช่น Type I, II และ Type III
Delayed hypersensitivity เกิดภายหลัง 24-28 ชั่วโมง เป็นการตอบสนองโดยใช้ T-Iymphocyte
ภาวะภูมิแพ้ตนเอง (Autoimmune disease)
เป็นภาวะที่ระบบูมิคุ้มกันของร่างกายเกิดการสร้างแอนติบอดี้ต่อเนื้อเยื่อตนเอง อาจมีอาการเฉพาะอวัยวะหรือหลายแห่งทั่วร่างกาย
เกิด Autoantibody เป็นตัวทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยตรง
เกิด immune complex จับตามเนื้อเยื่อของร่างกาย และกระตุ้นระบบ complement
เกิดจากปฏิกิริยา CMIR เหมือน type IV ทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อโดยเอนไซม์ที่ปล่อยจากphagocyte
พวกที่ไม่จำเพาะต่ออวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง (Systemic autoimmune disease)
Systemic lupus erythematosus (SLE)
Rheumatoid arthritis (RA)
Systemic scleroderma or Progressive systemic sclerosis
พวกจำเพาะต่ออวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง (Specific organ autoimmune disease)
2.1 Autoimmune hemolytic anemia (AHA) ภาวะที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดงและเกิดซีด
2.2 Idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) มีAb ต่อเกร็ดเลือด
2.3 Hashimoto’ s thyroiditis มีAb ต่อตัüรับ (receptor) ฮอร์โมนกระตุ้นธัยรอยด์(TSH) ที่ต่อมธัยรอยด์
2.4 Juvenile-onset diabetes mellitus เชื่อว่ามีautoantibody ต่อ islets cell ของตับอ่อน
2.5 Addison’s disease มีAb ต่อต้าน adrenal gland
2.6 Perniciouse anemia มีAb ต่อเม็ดเลือดแดง
2.7 Myasthenia gravis มีAb ต่อ receptor ของ acetylcholine ที่กล้ามเนื้อ
โรคที่เกิดจากการเพิ่มจำนวนเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน (Immunoproliferative disease)
เกิดจากการเพิ่มจำนวนเซลล์ lymphocytes ในระยะต่างๆ โดยทราบสาตุไม่ได้
อาจเกิดจากการเพิ่ม
ขนาดของต่อมน้ำเหลืองจากการติดเชื้อ การได้รับยา ทำให้สร้าง lymphocyte มากขึ้น มีไข้ผื่น หรือมีลักษณะการเจริญแบบเนื้องอก แต่อาจเปลี่ยนเป็นมะเร็งภายหลัง