Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 กระบวนการนโยบายในการบริหารงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 3
กระบวนการนโยบายในการบริหารงาน
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงาน
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายฯ
นโยบาย คือ แนวทางการปฏิบัติกว้างๆทีตั้งใจจัดทำขึ้นเพื่อเป็นทิศทางในการตัดสินใจ ให้บรรลุผลสำเร็จ
นโยบายสาธารณะ เป็นกระบวนการตัดสินใจในการดำเนินการของรัฐบาล ที่จะจัดการกับประเด็นปัญหาที่เป็นสาธารณะ
ความสำคัญของนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ คือรัฐบาลและข้าราชการ ทำหน้าที่ร่วมกันในการกำหนดนโยบายในการบริหารประเทศ
ฝ่ายผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบายสาธารณะ
ซึ่งจะเป็น องค์การ ประชาชน ชุมชน และสังคม
ที่ตั้งใจให้กิดขิ้น
ไม่ตั้งใจจะให้เกิดขึ้น
กระบวนการหรือขั้นตอนการ
บริหารนโยบายสาธารณะ
กำหนดนโยบาย
นำนโยบายไปปฏิบัติ
ประเมินผลนโยบาย
ประโยชน์ของนโยบายสาธารณะ
การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาธารณะ
เสริมสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยบายฯ
สภาพแวดล้อมภายในประเทศที่มีอิทธิพล
ต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ด้านการเมืองในประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านวัฒนธรรม
ด้านการบริหาร
สภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีอีทิธิพล
ต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การเมืองระดับโลก
เศรษฐกิจ
สังคม
เทคโนโลยี
ผู้มีหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายฯ
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายตุลาการ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในนโยบายสาธารณะ
กลุ่มผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ประชาสังคม
ประชาชนทั่วไป
ขั้นตอนของกระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดนโยบายใน
การบริหารงานส่งเสริมฯ
การก่อตัวของประเด็นสาธารณะ
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่และกระทบความรู้สึกต่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง
ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีและจะเกิดขึ้นในระยะเวลาเป็นช่วงๆ
ประเด็นปัญหาที่เป็นระเบียบวาระของชาติ
ประเด็นปัญหาพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
ประเด็นปัญหาที่ได้ข้อมูลจากการศึกษาวิจัย
การนิยามหรือการระบุประเด็นปัญหา
ใครมีปัญหา
รูปแบบในการแก้ไขปัญหา
อะไรคือปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์
Attainable (A) ต้องสามารถทำให้สำเร็จได้
Result-oriented (R) ต้องมุ่งสู่เป้าหมายขององค์การ
Measurable (M) ต้องสามารถวัดได้
Time-limited (T) ต้องง่ายต่อการจัดการและควบคุม
Specific (S) ก่อให้เกิดผลสำเร็จเพียงประการเดียวเท่านั้น
การวิเคราะห์ทางเลือกและการตัดสินใจ
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพิ่ม
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฎีการผสมผสาน
การตัดสินใจเลือกนโยบายตามทฤษฎีหลักเหตุผล
การนำนโยบายไปปฏิบัติใน
การบริหารงานส่งเสริมฯ
ระบบหรือกระบวนการบริหารงาน
การกำหนดพันธกิจ
การปฏิบัติ
การกำหนดวิสัยทัศน์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จใน
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ด้านระบบหรือกระบวนการบริหารงาน
ด้านปัจจัยสภาพแวดล้อม
ด้านการจัดโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างการจัดองค์กร
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
การบริหารราชการส่วนกลาง
การประเมินนโยบายในการ
บริหารงานส่งเสริมฯ
ขั้นตอนการประเมินนโยบาย
การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คาดหวังกบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
การแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบาย
การตรวจสอบปัจจัยพื้นฐาน
ผู้ประเมินนโยบาย
ผู้ประเมินภายในองค์การซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ผู้ประเมินภายนอกองค์การ
ผู้ปฏิบัติงาน
ผู้ประเมินซึ่งได้รับการมอบหมายจากผู้สนันสนุน
วัตถุประสงค์ของการประเมินนโยบาย
เพื่อประเมินความเหมาะสม
เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม
เพื่อติดตามความก้าวหน้า
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย
นโยบายในการบริหารฯตาม
บทบัญญัติของกฎหมาย
ตามบทปัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายอื่นๆ
ตามบทบัญญัติของกฎหายที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
การผลิต จัดการสินค้า และความมั่นคงอาหาร
ทรัพยากรการเกษตร
เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตร
นโยบายในการบริหารฯตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
นโยบายในการบริหารฯ
ของรัฐบาลและส่วนราชการ
นโยบายของรัฐบาล
นโยบายคณะรัฐมนตรี เมื่อ 23 สิงหาคม 2554
นโยบายคณะรัฐมนตรี เมื่อ 12กันยายน 2557
นโยบายคณะรัฐมนตรี เมื่อ 30 ธันวาคม 2551
นโยบายของส่วนราชากร
แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10