Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่6 กระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, กระบวนทัศน์เก่า,…
หน่วยที่6
กระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
ทัศนะพื้นฐานอันกำหนดแบบแผนการคิดและการปฏิบัติในประชาคมเมื่อทัศนะพื้นฐานเปลี่ยนไปจะทำให้แบบแนการคิดและการปฏิบัติเปลี่ยนแปลงไปด้วยทั้งกระบวนการ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
มองแยกส่วน
แข่งขันกำไร
เหนือธรรมชาติ
ความเหนือกว่าของวัฒนธรรมตะวันตก
รวมศูนย์อำนาจ
ปฏิเสธโลกทางวิญญาณ
บทบาทชาย
มององค์รวม
ร่วมมือประสานประโยชน์
เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ
ความเท่าเทียมหลากหลายของวัฒนธรรม
กระจายอำนาจ
ความสำคัญของจิตวิญญาณ
ความเสมอภาคทางเพศ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และการพัฒนาประเทศในแต่ละยุคสมัย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาฯ ฉ.1 (2504-2509)
แผนพัฒนาฯ ฉ.2 (2510-2514)
แผนพัฒนาฯ ฉ.3 (2515-2519)
แผนพัฒนาฯ ฉ.4 (2520-2524)
แผนพัฒนาฯ ฉ.5 (2525-2529)
แผนพัฒนาฯ ฉ.6 (2530-2534)
แผนพัฒนาฯ ฉ.7 (2535-2539)
แผนพัฒนาฯ ฉ.8 (2540-2544)
แผนพัฒนาฯ ฉ.9 (2545-2549)
แผนพัฒนาฯ ฉ.10(2550-2554)
แผนพัฒนาฯ ฉ.11(2555-2559)
แผนพัฒนาฯ ฉ.12(2560-2564)
ระยะการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ยุคก่อนจัดระบบงานส่งเสริมฯ (ก่อน 2510)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ1 (2510-2519)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ2 (2520-2529)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ3 (2530-2534)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ4 (2535-2539)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ5 (2540-2554)
ยุคการพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะ6 (2555-2560)
MRCF
Mapping
ข้อมูล
Remote Sensing
การเข้าถึงข้อมูล
Community Participation
การมีส่วนร่วม
Specific Field Service / Focus
การกำหนดจุดมุ้งเน้น บุคคลเป้าหมาย
ศพก.
แปลงใหญ่
T & V System
ปัจจัยทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยภายในประเทศ
สถานการณ์ แนวโน้มเศรษฐกิจ
สถานการณ์ แนวโน้มของสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
การเจริญเติบโตพื้นที่เศรษฐกิจ
ความมั่นคงในประเทศ
ความร่วมมือระหว่างประเทศและความเชื่อมโยง
การบริหารจัดการภาครัฐ
ความอ่อนแอของสังคม
ปัจจัยภายนอกประเทศ
สถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจโลก
สถานการณ์แนวโน้มของสังคมโลก
สถานการณ์ความมั่นคงโลก
สถานการณ์แนวโน้มสิ่งแวดล้อมโลก
การวิจัย พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด
ทางเลือกของการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาโดยอาศัยกระแสการพัฒนาของโลก
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยให้พึ่งตนเองมากขึ้น
การวางตำแหน่งประเทศไทยเป็นแกนกลางและเชื่อมโยงกับประเทศในอนุภูมิภาค
ทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทิศทางการพัฒนาประเทศ
จุดมุ่งหมายหลักการพัฒนาประเทศ
แนวคิดปรัชญาหลักของการวางแผน พัฒนาประเทศ
สังคมไทยที่พึงปรารถนา
สังคมคุณภาพ
สังคมแห่งภูมิปัญญาและเรียนรู้
สังคมที่สมานฉันท์และเอื้ออาทรต่อกัน
ทิศทางการพัฒนาที่สำคัญ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรในภาพรวม
1.การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
2.การพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร
3.การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
4.การจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ทิศทางการพัฒนาชุมชนเกษตร
การทำเกษตรกรรมยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนและสวัสดิการชุมชน
ธุรกิจชุมชน
อุตสาหกรรมชุมชน
การจัดการด้านสุขภาพชุมชน
การเรียนรู้ของชุมชน
ทิศทางการพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตรความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์และแนวทางการส่งเสริมและการพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์การส่งเสริมและการพัฒนาการเกษตร
1.การพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.การสร้างเบญจภาคีและพัฒนาเบญจขันธ์ของชุมชนเกษตรกรรม
เบญจภาคีของชุมชน
ชุมชน
รัฐ
นักวิชาการ
องค์กรพัฒนาเอกชน
องค์กรธุรกิจ
เบญจขันธ์ของชุมชน
จิตที่มีธรรมะ
แบบแผนการผลิต
ชีวิตและชุมชน
การพึ่งตนเองทางเศรฐกิจ
ความสมดุลของธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
3.การพัฒนารูปแบบบูรณาการและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของเกษตรกร
แนวคิด 5 ร
- รวมคน
- ร่วมคิด
- ร่วมทำ
- ร่วมสรุป
- ร่วมรับผล
4.การพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรมในมิติต่างๆ
ประการที่ 1 กระแสการพัฒนาแนวคิดและปรัชญาตะวันตก
ประการที่ 2 ปฏิเสธกระแสพัฒนาดังกล่าว
ประการที่ 3 ประสานปรัชญาตะวันออก+ตะวันตก
5.การเสริมสร้างศักยภาพการพึ่งตนเองของเกษตรกรและชุมชนในระดับต่างๆ
- ระดับครัวเรือน
- ระดับหมู่บ้าน
- ระดับท้องถิ่น
- ระดับชุมชน
การกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กำหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สถานการณ์ภายในประเทศ
- ความเกลื่อมล้ำทางรายได้และโอกาสการเข้าถึงทรัพยากร
- การเผชิญกับ Middle Income Trap
- โครงสร้างและการเติบโตภาคการเกษตร
- สถานการณ์ภาพรวมภาคการเกษตร
- การผลิตสินค้ากรเกษตรที่สำคัญ
- การดูแลประชากรภาคการเกษตร
- ทรัพยากรทางการเกษตร
- นโยบายและมาตรการต่างๆ
- การบริหารจัดการภาคการเกษตร
- การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก
- กฎ กติกาใหม่ของโลก
- การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง
- ประชากรโลกเพิ่มขึ้น
- การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
- อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น
- ปัญหาความั่นคงทางอาหารและพลังงาน
- ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ตามแผนพัฒนาฯ ฉ..12
"สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน"
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่1
การพัฒนาทรัพยากรบุคลและความเข้มแข็งขององค์กรเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ที่2
การพัฒนาและคุ้มครองทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคการเกษตรและการสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการกองทุนการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 6
การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อประสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 7
การปรับปรุงและพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาระบบการบริหารงานองค์กรส่งเสริมการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 8
การบูรณาการ การประสานงานและการสร้างกลไกร่วมภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจและภาคเกษตรกรในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1. ด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดล้อม
2. ด้านการจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความต้องการของตลาด
3. ด้านการส่งเสริมการรวมกลุ่มการผลิตทางการเกษตร
4. ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
5. ด้านการเพิ่มมูลค่าผลผลิตภาคเกษตร
6. ด้านการเร่งพัฒนาและขับเคลื่อนการผลิตเกษตรอินทรีย์อย่างจริงจัง
7. ด้านการส่งเสริมและเร่งขยายผล แนวคิดการทำการเกษตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง และแนวทางของมูลนิธิปิดทองหลังพระ
8. ด้านการสนับสนุนการจัดทำแผนแม่บทภาคเกษตรให้มีความยั่งยืน
9. ด้านการพัฒนาฐานข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานด้านการเกษตร
10. ด้านการสร้างบุคลากรด้านการเกษตร
กระบวนทัศน์เก่า
.
กระบวนทัศน์ใหม่
.
ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉ.12