Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคตับอักเสบ
(Hepatitis)
โรคตับอักเสบเอ (Hepatitis A: HAV)
สาเหตุ
RNA virus
การติดต่อ
การรับประทาน
ทางอุจจาระ
ทางปาก (fecal-oral route)
ระยะฟักตัว 14-28 วัน
อาการและอาการแสดง
คล้ายไข้หวัดใหญ่ … มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดข้อ
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ และปวดท้องด้านขวาส่วนบน
ปกติจะไม่มีภาวะดีซ่าน แต่อาจพบได้ในบางราย
HAV: Pregnancy
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูกพบได้แต่น้อย..ถ้ารุนแรงจะ
พบการคลอดก่อนกำหนด การเสียชีวิตของแม่/ลูก
การป้องกันและการรักษา
รักษาตามอาการ และรักษาภาวะสมดุลของน้ำในร่างกาย ดูแลให้ได้รับอาหารประเภทโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตอย่างเพียงพอ
ให้ immune serum globulin (ISG) 0.2 ml/นน 1 kg.กรณีมีอาการรุนแรงในระยะคลอดให้ ISG 0.5 ml แก่ทารกแรกคลอด
โรคตับอักเสบบี (Hepatitis B: HBV)
สาเหตุ
DNA virus
การติดต่อ
-Blood
-sex
-สารคัดหลั่ง
ระยะฟักตัว 1-2 เดือน
อาการและอาการแสดง
อาการของ HBV จะค่อยเป็นค่อยไป *มีภาวะดีซ่าน
HBV:Pregnancy
สตรี: GDM.. ความดันโลหิตสูง.. รกลอกตัวก่อนกำหนด
และอัตรา C/S สูงขึ้น
ทารก: PROM, preterm labor, abortion, stillbirth การตดิ เชื้อจากแม่สู่ลูก..เกิดได้ทุกระยะ*…มากที่สุดใน ช่วงระยะคลอดและหลังคลอด
ถ้าพบ
HBsAg
แสดงว่ามีการติดเชื้อ
HBeAg
มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น
การป้องกันและการรักษา
คัดกรองโดยตรวจหา HBsAg เมือมา 1 st ANCและไตรมาส 3 ถ้าให้ผลบวก ควรตรวจหา HBeAg เพือหาความเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อสู่ทารก
Rx ตามอาการ สำหรับ acute HBV ปกติจะหายไปเองภายใน 3-16 สัปดาห์
แนะนำให้มาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
พิจารณาให้คลอดทางVg ..C/S เมื่อมีข้อบ่งชี้.. เมื่อศีรษะทารกคลอดควรรีบดูดสารคัดหลั่งจากปาก/จมูกให้มากที่สุด.. เช็ดตัวทารกและนำทารกไปทำความสะอาดร่างกายทันที แต่ไม่จำเป็นต้องแยกมารดาและทารกในระยะหลังคลอด
ให้ hepatitis B immunoglobulin (HBIG) แก่ทารกแรกคลอด …หลังจากนั้นให้อีก 2 ครั้งคือ เมื่อ 1 เดือนและ 6 เดือน*
การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา พบว่า อัตราการติดเชื้อในทารกผ่านทางน้ำนมจะสูงขึ้นหากมารดามีเชื้อ HBV และมีหัวนมถลอกหรือหัวนมแตก แต่ในทารกที่ได้รับวัคซีนเมื่อแรกคลอดแล้วความเสี่ยงต่อการติดเชื้อผ่านทางน้ำนมจะไม่เพิ่มขึ้น…สรุป ถ้าได้รับ HBIG แล้วสามารถเลี้ยงด้วยนมมารดาได้*
การพยาบาลสตรีที่เป็นโรคตับอักเสบบี
Pregnancy หลีกเลี่ยงการใช้ ของใช้ที่อาจปนเปื้อนเลือดร่วมกับผู้อื่น
ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ และให้สามีมาตรวจ
..ไม่แนะนำ การเจาะถุงน้ำเพื่อเร่งคลอด** เมื่อทารกคลอด - ให้รีบดูดสารคัดหลั่งออกจากปากและจมูกทารกให้มากที่สุด - เช็ดตาและดูแลทำความสะอาดร่างกายทารกทันที
โรคหัดเยอรมัน
(Rubella)
เป็น viral infection
สาเหตุ
ติดเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปากของผู้ติดเชื้อเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการของทารกแต่กำเนิดที่รุนแรง ระยะฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค ระยะแพร่กระจายเชื้อ: 7วันก่อนผื่นขึ้น จนถึง 7วันหลังผื่นขึ้น
อาการและอาการแสดง
ไข้ตํ่ำๆ
ปวดศีรษะ
ต่อมน้ำเหลืองโต
ตาแดง
คออักเสบ
ปวดกล้ามเนื้อ
ผื่นแดงเล็กๆ(maculopapular rash)กระจายจากใบหน้าสู่ลำตัว
และขา ใช้เวลาประมาณ 3 วัน
โรค:Preg.
...ทารกเสี่ยงต่อความพิการแต่กำเนิด คือ congenital rubella syndrome (CRS) (ความเสี่ยงขึ้นกับ GA ขณะที่มารดาเป็นผื่น ถ้าติดเชื้อขณะGA มากขึ้นมีโอกาสเกิดความพิการในทารกน้อยลง) …CRS จะมีความผิดปกติในหลายระบบ ได้แก่ ตาเล็ก ต้อหิน/ต้อกระจก เป็นโรคหัวใจ หูหนวก มีความผิดปกติของระบบประสาท IUGR ตับโต
ม้ามโต ดีซ่าน p/t ต่ำ โลหิตจาง กระดูกผิดปกติ หรือโครโมโซมผิดปกติ
Dx.
HAI
(Hemagglutination inhibition test)
ดูไตเตอร์ต่อเชื้อ
เพิ่ม 4 เท่าใน 2 wks*
ติดเชื้อ
Rx.
ให้วัคซีน ก่อน Preg.
อย่างน้อย 3 เดือน
Plan Preg.
-ให้คำปรึกษา-ทำ cordocestasis -เพื่อดู IgM-U/S เพื่อดูการเจริญเติบโตและความพิการาร
สัมผัสเชื้อ
ถ้ามีการติดเชื้อชัดเจน..ควรพิจารณาทำแท้ง
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ หมายถึง ภาวะที่มีการอักเสบ เฉียบพลันของทางเดินปัสสาวะ
ตำแหน่งที่มีการติดเชื้อ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่างที่พบ คือ ติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ (Cystitis) และการติดเชื้อ ที่ท่อปัสสาวะ (Urethritis)
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน คือ ติดเชื้อ ที่กรวยไต (Pyelonephritis)
เมื่อตั้งครรภ์จะพบความชุกในการติดเชื้อในระบบ ทางเดินปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น และการติดเชื้อมักจะเกิดใน ไตรมาสที่ 2 และ 3 ของการตั้งครรภ
สตรีตั้งครรภ์อาจไม่แสดงอาการใดๆ เลย (Asymptomatic bacteriuria) หรือมีอาการรุนแรง ไปจนถึงมีภาวะกรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะยังเป็นสาเหตุใน การนอนโรงพยาบาลของสตรีตั้งครรภ์ถึงร้อยละ 5
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในสตรีตั้งครรภ์ เป็นปัญหาสาคัญที่พบบ่อยเป็นอันสองรองจากภาวะ โลหิตจาง
ชนิด
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดง
ตั้งครรภ์จะมีการยืดขยายของทางเดินปัสสาวะเชื้อโรค อาจแพร่กระจายไปยังกรวยไตทาให้เกิดกรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis) ได้
สตรีตั้งครรภ์จำเป็นต้องให้การรักษาเนื่องจากขณะ
สตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ไม่จาเป็นต้องให้การรักษาใดๆ
ตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 13
พบการเกิด Asymptomatic bacteriuria ในสตรี
(Asymptomatic bacteriuria [ASB])
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะร่วม กับมีอาการเจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะต้องรีบปัสสาวะ (Urgency) ปัสสาวะมีสีขุ่นหรือสีแดง (เกิดจากการมีเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวออกมากับปัสสาวะ) มีไข้สูง อ่อนเพลีย และปวดบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
การตรวจพบแบคทีเรีย ในปัสสาวะ ร่วมกับปัสสาวะ
เป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น และ ปวดบริเวณบั้นเอว
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia coli (E. Coli) ที่อยู่รอบๆ ท่อปัสสาวะ
ปัจจัยส่งเสริม คือ
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในขณะตั้งครรภ์
มดลูกท่ีใหญ่ขึ้นจะไปเบียดกระเพาะปัสสาวะ
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อแบคทีเรียเข้าไปใน ทางเดินปัสสาวะ
มีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ
การบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะลดลง
ผนังชั้น Endometrium ของหลอดเลือดเปราะและแตกง่าย ทาให้มีเลือดออกมากับปัสสาวะ
มีการถ่ายปัสสาวะลดลง และต้องใช้แรงเบ่งมาก
หากเชื้อแบคทีเรียเคลื่อนเข้าไปยังท่อปัสสาวะ และท่อไต → ทำให้ท่อปัสสาวะและท่อไตอักเสบ
→ การทำหน้าที่ของไตลดลง ไตอักเสบตามมา และอาจเกิดไตวาย
อาการแสดง
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract infection, [UTI])
เช่น ท่อปัสสาวะอักเสบ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
สตรีตั้งครรภ์จะมีอาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะ
แสบขัด กระปริดกระปรอย กลั้นปัสสาวะไม่ได้ บาง รายอาจพบปัสสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้าล้างเนื้อ และปวดบริเวณหัวหน่าว
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper urinary tract infection, [UTI]) ได้แก่ กรวยไตอักเสบ
ถ้าอาการรุนแรงอาจมีอาการของการติดเชื้อใน กระแสเลือด และหากไม่ได้รับการรักษาอาจช็อค และเสียชีวต
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อแม่ -- ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การแท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคล้ำแตกก่อนกำหนด การติดเชื้อในกระแสเลือด
ผลกระทบต่อลูก -- คลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกตายคลอด
โรคโควิด-19
อาการเริ่มแรก จะมีไข้ ไอ หายใจลำบาก ปวดเมื่อยและอ่อนเพลีย จนถึงขั้นปอดบวมรุนแรง เชื้อโรคมีระยะฟักตัว 2-14 วัน อาการทั่วไปอื่น ๆ เช่น มีเสมหะ ปวดศีรษะ และไอเป็นเลือด
ผลกระทบต่อมารดา
การอักเสบที่รก
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
การติดเชื้อในปอด
เสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารก
ติดเชื้อจากช่องคลอดขณะคลอด
ขาดออกซิเจน
แท้ง
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกพิการ
มีเลือดออกในสมอง
เสียชีวิต
ทารกภายหลังคลอด
หายใจลำบาก
ขาดออกซิเจนแรกคลอด
หัวใจเต้นเร็ว
อาเจียน ร้องกวน
ผื่นขึ้นตามร่างกาย
ภาวะเกร็ดเลือดต่ำ เลือดออกในกระเพาะอาหาร
อวัยวะภายในล้มเหลว และเสียชีวิต
แนวทางการรักษา
ยารักษาโรคมาลาเรีย (hydroxychloroquine, chloroquine) ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย(azithromycin) และยาต้านเชื้อไวรัส เอช ไอ วี (darunavir, lopinavir, ritonavir) และ ยาต้านไวรัสตัวใหม่ (favipiravir) ใช้เวลารักษา 5-10 วันแล้วแต่อาการและการตอบสนองต่อยาของผู้ป่วย
ควรเริ่มรักษาให้เร็วที่สุดเมื่อรู้ผลว่ามีการติดเชื้อ หรือภายใน 10 วันที่เริ่มมีอาการ
การฉีดวัคซีนในระยะตั้งครรภ์ ยังไม่มีรายงานถึงผลกระทบเพราะกำลังอยู่ระหว่างการวิจัย แต่ควรเลือกฉีดวัคซีนที่ไม่มีเชื้อไวรัสที่มีชีวิตเป็นส่วนประกอบหรือเชื้อตาย (inactivated vaccine) เมื่ออายุครรภ์ 12 สัปดาห์เป็นต้นไป