Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีปัญหาเลือดออกครึ่งหลัง ของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีปัญหาเลือดออกครึ่งหลัง
ของการตั้งครรภ์
มารดาที่มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
( abruption placentae )
ชนิด
Revealed หรือ external hemorrhage
Concealed หรือ internal hemorrhage
Mixed หรือ combined hemorrhage พบมากที่สุด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
PIH
ภาวะที่แรงดันภายในมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
สายสะดือสั้นกว่าปกติ
การบาดเจ็บและกระทบกระเทือนจากภายนอกอย่างรุนแรงที่บริเวณมดลูก
การทำ external version
มีเนื้องอกในมดลูก
มีประวัติการเกิดภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
อาการและอาการแสดง
tetanic contraction
เจ็บปวดจาก มดลูกหดรัดตัวอย่างรุนแรง อาจฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ไม่ได้
painful vagina bleeding
เลือดมีสีคล้ำ หรืออาจไม่มีเลือดออกทางช่องคลอดหากรกเริ่มลอกจากส่วนกลางของรกถ้าเสียเลือดอย่างรุนแรงระดับของยอด มดลูกจะสูงขึ้นและมดลูกหดรัดตัวแข็งเกร็งมีอาการแสดงของการตกเลือดที่รุนแรงกว่าปริมาณเลือดที่ออกให้เห็นทาง ช่องคลอด และกดเจ็บบริเวณมดลูก
การรักษา
แก้ไขภาวะโลหิตจาง ในกรณีที่เลือดออกมากให้ เลือดหรือสารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ
ให้ออกซิเจน
สวนปัสสาวะค้างเพื่อประเมินปริมาณน้ำเข้า-ออก
ประเมิน central venous pressure (CVP)
ประเมินภาวะ DIC ประเมินภาวะ hypovolemic shock
พิจารณาผ่าตัด คลอดโดยเร็ว ในกรณีที่เลือดออกไม่มาก และตั้งครรภ์ยังไม่ครบกำหนด
อาจพิจารณาให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของ มดลูก หากครรภ์ครบกำหนดแล้วอาจเจาะถุงน้ำคร่ำ หรือให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อช่วยเร่งคลอด
การพยาบาล
รายที่เลือดออกมากให้ absolutebed rest จัดท่าตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับเส้นเลือด inferior vena cava
ให้ได้รับออกซิเจน 4-5 ลิตร/นาที
ให้ IV ตามแผนการรักษา NPO และ record I/O
งดตรวจทางช่องคลอดและทาง ทวารหนัก
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจการแข็งตัวของเลือด
หากมีภาวะช็อก ให้รายงานแพทย์ทันที่ รวมทั้งเตรียมช่วย คลอดทางช่องคลอดหรือผ่าตัดคลอดตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังการตกเลือดในระยะหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
มารดาที่มีภาวะรกเกาะต่ำ (placenta previa)
คือภาวะที่รกหรือส่วนของรกมีการฝังตัวลงมาถึงบริเวณส่วนล่างของผนังมดลูก
แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
Low lying
Marginal placenta previa
Partial placenta previa
Total placenta previa
รกเกาะต่ำทำให้ขัดขวางช่องทางคลอด และเกิดการตกเลือดทั้งในระยะคลอดและระยะหลังคลอด และอาจ สิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยการคลอดก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่มีความเจ็บปวด เลือดมักมีสีแดงสด
ปริมาณเลือดที่ออกจะได้สัดส่วนกับอาการแสดงของการตกเลือด
ตรวจทางหน้าท้องจะพบมดลูก นุ่มตามปกติไม่แข็งตึง กดไม่เจ็บ
คลำส่วนของทารกในครรภ์และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ได้
การรักษา
การประคับประคอง
มักทำในรายที่ตั้งครรภ์ยังไม่ครบกำหนด หรือเลือดออกทางช่องคลอดไม่ รุนแรง โดยให้นอนพักอย่างเต็มที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำหรือให้เลือดทดแทนให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก ปัจจุบันนิยมใช้ยา magnesium sulfate ควรหลีกเลี่ยงยากลุ่ม beta Sympathomimetic
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
มักทำในรายที่ตั้งครรภ์ครบกำหนดหรือในรายที่มีเลือดออกทางช่อง คลอดจำนวนมากจนอาจเป็นอันตรายต่อมารดาหรือทารกในครรภ์โดยพิจารณาให้คลอดทางช่องคลอดในรายที่มีรก เกาะต่ำแบบ low-lying placenta และเกาะอยู่ด้านหน้าของตัวมดลูก มีเลือดออกเพียงเล็กน้อย
การพยาบาล
1.พิจารณาใหการดูแลตามความรุนแรงของเลือดที่ออกและ สอดคล้องกับแผนการรักษา โดยอธิบายให้สตรีมีครรภ์และครอบครัวทราบถึงพยาธิสภาพ ภาวะ แทรกซ้อน และแผนการรักษา
ดูแลให้นอนพักบนเตียงให้มากที่สุด จัดท่า
semi-Fowlerทำกิจกรรมเท่าที่จำเป็น เท่านั้น
3.ให้ออกซิเจนเจาะเลือดส่งตรวจ Hb, Hct และเตรียมเลือดให้สารน้ำหรือเลือดทดแทน
งด PV ทางช่องคลอด ทางทวารหนักและ NPO
5.ประเมินสัญญาณชีพการหดรัดตัวของมดลูก FHS และอาการแสดงของการช็อกอย่างใกล้ชิด
เตรียมความพร้อมในการตรวจพิเศษและการผ่าตัดคลอดในกรณีที่ จำเป็น
7.หากภาวะเลือดออกน้อยลงและมีแผนการจำหน่ายให้กลับบ้านควรให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน ภาวะตกเลือดก่อนคลอดช้ำและการสังเกตความผิดปกติที่ต้องรีบมาโรงพยาบาล