Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม - Coggle Diagram
หน่วยที่ 8 บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของนักส่งเสริม
ความหมายและประเภทของนักส่งเสริม
ความหมาย
บุคคลที่จัดบริการความรู้แก่เกษตรกร หรือเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรเกิดการเรียนรู้
ประเภทของนักส่งเสริม
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
นักส่งเสริมภาคเอกชน
นักส่งเสริมภาคประชาชน
บทบาทของนักส่งเสริม
ผู้ถ่ายทอดความรู้
ที่ปรึกษา
ผู้ประสานงาน
นักวิจัยและพัฒนา
นักรวมกลุ่ม
ผู้จัดกระบวนการ
นักประชาสัมพันธ์
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
หน้าที่ของนักส่งเสริม
การถ่ายทอดความรู้
ส่งเสริมการรวมกลุ่ม
ให้คำปรึกษา
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงเกษตรกร
ข้อพึงปฏิบัติและข้อพึงระวังของนักส่งเสริม
คิดไตร่ตรอง
เชื่อมั่นในงานที่ทำ
ศึกษาและให้บริการแก่เกษตรกร
ยึดถือความถูกต้อง
หลีกเลี่ยงการสร้างปรปักษ์
สร้างพันธมิตรโดยเฉพาะผู้นำ
ยิ้มกับทุกคน
ติดต่อกับผู้ร่วมงานสม่ำเสมอ
สื่อสารให้เข้าใจกระชับ และชัดเจน
อย่าเกรงที่จะพูดว่าไม่รู้
ประชาสัมพันธ์การประชุม
เข้าใจบริบทพื้นท
รักษาผลประโยชน์ร่วมของทุกฝ่าย
อย่าคิดถึงประโยชน์ส่วนตน ให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
สวมใส่ชุดให้เหมาะสมกับงาน
ยืนอย่างสง่าผ่าเผยและมองหน้าผู้ฟัง
แนะนำตำแหน่งผู้พูดอย่างเหมาะสม
เล่าเรื่องตลกอย่างเหมาะสม
ไม่ควรพูดจาหยาบคาย
ควรพูดให้น้อย
ทำงานอย่างมีพลัง
ทำงานที่สำคัญ
ทำงานตามเป้าหมาย
พูดแต่สิ่งที่ดีและมีความรักในองค์กร
แสดงออกซึ่งความกล้าหาญ
การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
ศักยภาพและสมรรถนะของนักส่งเสริม
ความหมาย
จำแนกได้ 4 ประเภท ได้แก่
สมรรถนะขององค์กร
สมรรถนะหลัก
สมรรถนะตามสายวิชาชีพ
สมรรถนะด้านการบริหาร
สมรรถนะที่พึงมีของนักส่งเสริม
ความรู้ความสามารถ
ทักษะ
ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
ตามโครงสร้างบทบาทหน้าที่ในองค์กร
ตามลักษณะของนักส่งเสริม
ตามช่วงอายุ
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
องค์ประกอบสมรรถนะ
ความรู้ความสามารถ
ทักษะ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพ
กำหนดสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทางส่งเสริมการเกษตร
วางแผนการเสริมสร้างศักยภาพให้สอดคล้องกับสมรรถนะ
ควบคุมคุณภาพในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ
นักส่งเสริมภาคเอกชน
องค์ประกอบสมรรถนะ
ความรู้ความสามารถ
ทักษะ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพ
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ/ค่านิยมขององค์กร
กำหนดสมรรถนะหลักองค์กร
กำหนดสมรรถนะของบุคคล
กำหนดรายละเอียดงาน
กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้
นักส่งเสริมภาคประชาชน
องค์ประกอบสมรรถนะ
ความรู้ความสามารถ
ทักษะ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพ
เรียนรู้งานจากการสอนงาน
เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติงานจริง
เรียนรู้งานจากการวิจัย
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่งของกรมส่งเสริมการเกษตรเป็นกรณีศึกษา
การวิเคราะห์แนวทาง
เป็นการวางแผนการเสริมสร้างศักยภาพที่สอดคล้องกับสมรรถนะ
มีการควบคุมคุณภาพในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ
มีการประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ
นักส่งเสริมภาคเอกชน
ใช้ บริษัท นํ้าตาลพิษณุโลก จำกัด เป็นกรณีศึกษา
การวิเคราะห์แนวทาง
เป็นแนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมตามทิศทางขององค์กร
เป็นการเสริมสร้างศักยภาพตามรายละเอียดของงานในแต่ละตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ
ใช้กิจกรรมการฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงานในการเสริมสร้างศักยภาพฯ เป็นหลัก
นักส่งเสริมภาคประชาชน
ใช่ เกษตรกรรุ่นใหม่ (young smart farmer) เป็นกรณีศึกษา
การวิเคราะห์แนวทาง
เป็นโครงการเสริมสร้างสมรรถนะจากกระบวนการทำงาน
เป็นกิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร