Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บริบทการพัฒนา KAP แกนนำ+ปรับพฤติกรรมอาหารผักผลไม้เด็ก (งานโภชนาการชุมชน)…
บริบทการพัฒนา KAP แกนนำ+ปรับพฤติกรรมอาหารผักผลไม้เด็ก
(งานโภชนาการชุมชน)
KAP แกนนำ
แนวคิดทฤษฎี วิจัย
ความเชื่อสุขภาพ
HBM
- สร้าง/ปรับสุขภาพที่ดีได้ โดยให้ความรู้ถึงความสาหัสของโรค ความเสี่ยงต่อโรค ประโยชน์ที่ได้หากป้องกันตนเอง รับรู้อุปสรรค สร้างทางให้เดิน สร้างความสามารถแห่งตน/SE
อสม ได้ฝึกอบรมสมรรถนะส่งเสริมสุขภาพต่างๆ จาก รพสต สสจ สสอ อย่างต่อเนื่อง
การให้ความรู้ สร้างความตระหนัก KAP+health literacy เป็นแนวทางระดับบุคคล แต่ให้จัดการปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อด้วย ซึ่งรัฐบาล สาธารณสุข ทั่วโลกผลักดันมาตรการกฎหมาย ภาษีฯลฯ
แกนนำ มีบทบาทให้ความรู้ จูงใจ ประเมินติดตามผลปรับพฤติกรรมอาหารโภชนาการเด็ก
R2R from routine to research สธ.ส่งเสริมเรื่องนี้มาก +การทำวิจัยเป็นทักษะและภาระกิจสำคัญของผู้ปฏิบัติงานโภชนาการชุมชน เพราะจะได้มี evidence -based ในการวางแผน บริหารจัดการโครงการ แก้ไขส่งเสริมโภชนาการได้ตรงจุด พัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะวิจัยแบบมีส่วนร่วมชุมชน นักวิจัยชาวบ้าน มิฉะนั้นจะไม่รู้ผลลัพธ์ ประสิทธิภาพ ปัญหาอุปสรรค ซึ่ง รพ.สต.มีผลงานบทความวิจัยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาท้องถิ่น
ปรับการกินอาหาร ผักผลไมเ้ด็ก
แนวคิด ทฤษฎี วิจัย
social cognitive learning+ constructivism เด็กสร้างความรู้จากประสบการณ์ ที่พบเห็น ปฏิบัติ
ขณะนี้เน้น การสอนแบบไฮสโคป ลงมือปฏิบัติเอง- creative thinking--executive functions ทักษะคิดบริหารจัดการตนเอง - brain-based learning
health setting /healthy environment /choice architecture การส่งเสริมพฤติกรรมอาหารสุขภาพ โดยสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อ
การถ่ายทอดทางสังคม social reproduction ภูมิปัญญา พืชพรรณอาหารท้องถิ่น ตำรับอาหารผักผลไม้ ต้องถ่ายทอด สร้างนิสัยการกินเป็นประจำ
social mkt สร้างพฤติกรรมสุขภาพ โดยหลัก 4 P
คู่มือศูนย์เด็กเล็กมาตรฐาน สถ.2559 /พม 2555/กรมอนามัย2557 ระบุการดูแลด้านอาหารโภชนาการ กำหนดคุณสมบัติ+เกณฑ์ประเมินครู พี่เลี้ยง จัดประสบการณ์เรียนรู้ สื่อหลากหลาย
ใช้+สร้างสื่อที่เหมาะสมกับเด็ก เช่น ร้องเล่นเต้นเพลง นิทาน สื่อดิจิทัล รวมถึงสื่อบุคคล/subjective norms ถ้าคนรอบข้าง เพื่อนทำประจำ เด็กก็ทำตาม
มีงานวิจัยนับพันฉบับ เรื่องเทคนิคการสอนปฐมวัย+ การบริหารจัดการ ศูนย์เด็กเล็ก
ขณะนี้เน้น สะเต็มศึกษา สะตีมศึกษา creative thinking--executive functions ทักษะคิดบริหารจัดการตนเอง - brain-based learning -mindmap
สอนแบบโมดูล/หน่วยเรียนรู้ (competency-based education) /ชุดกิจกรรม /โครงงาน/สืบเสาะความรู้/ใช้ปัญหาเป็นฐาน/แบบร่วมมือ/แบบต่อภาพ ฯลฯ
สร้าง+ใช้สื่อหลากหลายตามสมัย +พหุปัญญา เช่น เรียนออนไลน์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ บทบาทสมมุติ ทัศนศึกษา
มิติพัฒนาตำบลปัจจุบัน
เกษตร
เกษตรตำบล อาสาเกษตร หมอดิน -ส่งเสริมติดตามผล นวตกรรมเกษตร ผักอินทรีย์ ตั้งกลุ่มเกษตรกร ยุวเกษตร แปรรูป วิสาหกิจชุมชน
เน้นทฤษฎี diffusion of innovations การสอนความรู้ ให้นวตกรรมใหม่กับแกษตรกร มักจะมีผู้รับ 4 กลุ่ม (ตาม normal distribution) คือ กลุ่มบุกเบิก/innovators กลุ่มใหญ่แรก/early majority กลุ่มใหญ่หลัง/late majority กลุ่มล้าหลัง/laggards --จึงนิยมให้กลุ่มแรก เป็นคนไปแนะนำชักจูงคนอื่น
การศึกษา
พรบ.การศึกษา 2542 และที่ปรับปรุง 4 ฉบับ ส่งเสริมการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วนร่วมจัดการศึกษา- ผู้บริหาร ครู พี่เลี้ยง แม่ครัว -จัดการเรียนรู้ ส่งเสริมสุขภาพ ทำอาหารกลางวัน ประเมินโภชนาการ
-เน้นทักษะ/การเรียนรู้ ศตวรรษที่21 C21st skills =4C/7C
เน้นพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม อนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญา
พม
จนท. พม. อพม อผส นักบริบาลชุมชน ส่งเสริมสวัสดิการ กลุ่มเปราะบาง
พช
นักพัฒนาชุมชน อปท - ส่งเสริมความเข้มแข็งทุกด้าน จปฐ ฝึกอาชีพ
สาธารณสุข
ศูนย์อนามัย สสจ สสอ. รพสต. พยบ. ทันตา จนต. นวก.สธ.รพสต ส่งเสริมสุขภาพอนามัยทุกวัย ทุกกลุ่ม (พรบ.64 โอนไปอบจ)
งานอนามัยโรงเรียน+รร.ส่งเสริมสุขภาพ มีคู่มือแนะนำการสอนโดย active learning 14 วิธี
อสม ทำงาน/รายงานผลตามที่ได้รับมอบหมายจาก รพ.สต. สสจ
มาตรฐาน รพสต ติดดาว
นโยบายระบบสุสุขภาพอำเภอ - สร้างเครือข่ายดูแลสุขภาพภายในเขตอำเภอ
ระบบ PCU หน่วยบริการสุขภาพเชื่อมแม่ข่าย ลูกข่าย 3 ระดับ ปฐม ทุติ ตติยภูมิ
มาตรฐานศูนย์เด็กกรมอนามัย ครูต่อเด็ก 1:10 คน จัดอาหาร 5 หมู่ อาหารว่างนม ผลไม้ คัดกรองพัฒนาการตามวัย ประเมินโภชนาการทุก 3 เดือน+ส่งรายงาน DSPM รพสต/ศูนย์อนามัย
มหาลัย สถาบันวิจัย
อาจารย์ นศ. นักวิจัย - ส่งเสริมวิจัยท้องถิ่น เพื่อนำมาพัฒนาพื้นที่ให้ตรงจุด มีประสิทธิภาพ
ทต. /อบต.
กองสธ. ศึกษา สำนักปลัด -จัดสรรงบอาหารกลางวัน อบรมครู อปท
องค์กรศาสนา
วัด มัสยิด โบสถ์ ศูนย์รวม
มท/สถ
พัฒนากร จนท.สถ - ส่งเสริมถ่ายโอนภาระกิจ กระจายอำนาจ นวัตวิถี โฮมสเตย์ วิสาหกิจชุมชน โอทอป
กำหนดให้ทุกตำบลทำแผนพัฒนา 3 ปี (ล่วงหน้า)แบบมีส่วนร่วม และสอดคล้องแผนประเทศ/จังหวัด เพื่อของบประมาณ
เป็นผู้โอนบบประมาณอาหารกลางวันในโรงเรียน ศพด
โครงการส่งเสริมพัฒนาอนุรักษ์ ป้องกันแก้ไขปัญหา ด้านทรัพยากรชุมชน ภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยว ปลอดโรค ปลอดยาเสพติด
สร้าง+ถอดบทเรียนชุมชนต้นแบบ เช่น ต้นแบบป้องกัโรคตางๆ ส่งเสริมสุขภาพ เกษตรอินทรีย์ พอเพียง ต้นแบบศพด. รร. รพสต.
พรบ เทศบาล 2496 (แก้ไข14) อบต 2537 (แก้ไข1)
กำหนดหน้าที่ไว้ 31 ข้อ
กำนัน ผู้ใหญ่ อสม ปราชญ์ กลุ่มกู้ภัย มีประชุมหมู่บ้านทุกเดือน บริหารจัดการความเป็นอยู่ในชุมชน
ผู้นำชุมชน
ศธ.หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546 /2560
พรบ หลักสูตร
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ปรับปรุง 4 ฉบับ