Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประมวลผลข้อมูล - Coggle Diagram
การประมวลผลข้อมูล
การดำเนินนิยามของปัญหา
1) เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ มีประโยชน์ ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ และนำไปใช้ปรับปรุงแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ 2) เป็นปัญหาที่สามารถหาคำตอบได้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการวิจัยได้ 3) เป็นปัญหาที่หาข้อมูลมาตรวจสอบสมมติฐาน เพื่อหาข้อมูลสรุปได้ 4) เป็นปัญหาที่ให้คำนิยามปัญหาได้
วิเคราะห์ปัญหา
๑. การวิเคราะห์ปัญหา(Problem Analysis) การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ๑. กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง ๒. พิจารณาข้อมูลนาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมี คุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของข้อมูลที่จะนาเข้า
การรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล” กระบวนการที่จะทำให้ได้ข้อมูลมาเพื่อตอบสนองตามวัตถุประสงค์ การเก็บรวบรวบข้อมูลเริ่มต้นจากการวางแผนการเก็บเสียก่อน นักสถิติจำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล หรือค้นคว้าด้วยตัวเอง แล้วจึงทำการเก็บรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว
การเตรียมข้อมูล
การเตรียมข้อมูลเป็นกระบวนการจัดเตรียมข้อมูลดิบเพื่อให้เหมาะกับการประมวลผลและการวิเคราะห์เพิ่มเติม ขั้นตอนที่สำคัญ ได้แก่ การเก็บรวบรวม การทำความสะอาด และการระบุประเภทข้อมูลสำหรับข้อมูลดิบในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับอัลกอริทึมของแมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) แล้วจึงสำรวจและแสดงผลข้อมูลต่อไป การเตรียมข้อมูลอาจใช้เวลาถึง 80% ของเวลาที่ใช้ไปกับโปรเจกต์ ML การใช้เครื่องมือการเตรียมข้อมูลเฉพาะทางมีความสำคัญต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการนี้
ความครบถ้วน
ความครบถ้วน (Completeness) หมายถึง การจัดทำบัญชีและการทำข้อมูลในงบการเงินจะต้องมีความถูกต้องครบถ้วนสมบรูณ์ โดยพิจารณาความมีนัยสำคัญและต้นทุนในการจัดทำ เพื่อไม่ให้มีความผิดพลาดเกิดขึ้นกับข้อมูลจนทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิดเกี่ยวกับสถานะของกิจการ
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ หมายถึง การนำข้อมูลที่เก็บไว้อย่างมีระบบ มาทำการวิเคราะห์ สรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน มีความหมายและมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูล
รูปแบบเดียวกัน
คอมพิวเตอร์สามารถจำแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่งโดยทั้วไปนิยมจำแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภทดังนี้ คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ( Supercomputer) คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่ามือ (Hand-held Personal computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทำได้ถึงพันล้านคำสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการคำนวณที่ซับซอน ปัจจุบันมีการนำซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วนรถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบงานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็นต้น
-
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจำหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จำนวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจองตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษาเป็นต้น
-
- มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทำงานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทำงานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
-
- คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทำงานในสำนักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบนโต๊ะและที่พื้น
-