Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
กระบวนทัศน์ หมายถึง ทัศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง อันกำหนดแบบแผนการคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่ง
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายเข้ามาร่วมในกระบวนการ บนฐานรากของความรักความเมตตาที่สร้างสรรค์
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในระดับการพัฒนาประเทศ
ในแต่ละยุค คือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-12
ปัญหาภาคการเกษตรในด้านต่างๆ
ด้านพัฒนาขีดความสามรถในการแข่งขัน
ด้านการอนุรักษ์ทรัยากรธรรมชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้านการพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
ด้านพัฒนาการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์และแนวทางการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์
การพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างเบญจภาคีและพัฒนาเบญจขันธ์ของชุมชนเกษตรกรรม
การพัฒนารูปแบบบูรณาการและกระบวนการเรียนรู้
การพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรม
การเสริมสร้างศักยภาพการพึ่งตนเองของเกษตรกรและชุมชน
การกำหนดยุทธศาสตร์
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก
ได้แก่ กฎ กติกาใหม่ของโลก ประชากรโลกเพิ่มขึ้น ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิโลกสูงขึ้น ปัญหาความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน ความก้าวหน้าทางเทคโนโนยี
สถานการณ์ภายในประเทศ
ได้แก่ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ โอกาสการเข้าถึงทรัพยากร รายได้ต่อหัวสูงไม่มากพอ ภาคการเกษตรมีการเติบโตต่ำ ต้นทุนสูง ทรัพยากรทางการเกษตรเสื่อมโทรม ประชากรภาคการเกษตรมีแนวโน้มลดลง เป็นต้น
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จัดระบบการผลิต
ส่งเสริมการรวมกลุ่มการผลิต
สร้างโอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรม
เพิ่มมูลค่าผลผลิตภาคเกษตร
เร่งพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ส่งเสริมและเร่งขยายผลโครงการเศรษฐกิจพอเพียงและปิดทองหลังพระ
สนับสนุนการจัดทำแผนแม่บท
พัฒนาฐานข้อมูลด้านอปสงค์อุปทาน
สร้างบุคลากรด้านการเกษตร
ยุทธศาสตร์ชาติ
ความมั่นคง
สร้างความสามรถในการแข่งขัน
พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
สร้างโอกาศความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
สร้างการเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พัฒนาทรัพยากรบุคคลและความเข้มแข็งขององค์กร
พัฒนาและคุ้มครองทรัพยากรการผลิตและสิ่งแวดล้อม
พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการสินค้าเกษตร
แก้ไขปัญหาหนี้สิน
เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี
ปรับปรุงและพัฒนาระบบส่งเสริม
บูรณาการทุกภาคส่วน
ปัจจัย ทิศทาง การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยภายในประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจไทย
สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเจริญเติบโตพื้นที่เศรษฐกิจ
ความมั่นคงในประเทศ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
การบริหารจัดการภาครัฐ
ความอ่อนแอของสังคม
ปัจจัยภายนอกประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลก
การวิจัยพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด
สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมโลก
สถานการณ์แนวโน้มสิ่งแวดล้อมโลก
สถานการณ์ความมั่นคงโลก
ทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทิศทางการพัฒนาประเทศ
จุดมุ่งหมายหลักการพัฒนาประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน
จากเดิมเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นหลัก มาเป็นการเน้น คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สังคมไทยที่พึงปราถนา 3 ด้าน คือ สังคมคุณภาพ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทรต่อกัน
ทิศทางการพัฒนาที่สำคัญ ได้แก่ พัฒนาคุณภาพคน สร้างความเป็นธรรมในสังคม ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ พัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรในภาพรวม
พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การจัดการทรัพยาการการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ทิศทางการพัฒนาชุมชนเกษตร
การทำเกษตรกรรมยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนและสวัสดิการชุมชน
ธุรกิจชุมชน
อุตสาหกรรมชุมชน
การจัดการด้านสุขภาพชุมชน
การเรียนรู้ของชุมชน
ทิศทางการพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน