Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 79 ปี Dx: ST elevation myocardial infarction (STEMI) -…
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 79 ปี Dx: ST elevation myocardial infarction (STEMI)
2.ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present Illness, PI)
20.00 น. มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดกลางท้องมาเรื่อย ๆ ใจสั่นร่วมด้วย ไม่ได้รักษาที่ไหนจึงมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
( Past History, PH )
Hx. เบาหวาน 5 ปี DLP กระดูกพรุน ใช้ยาละลายลิ่มเลือด
ประวัติครอบครัว (Family History)
ไม่มีประวัติบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรคติดต่อและโรคทางพันธุกรรม เช่น วัณโรค หัด ตับอักเสบ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อาการสำคัญ ( Chief Complaints, CC)
ปวดท้องแน่นใต้ลิ้นปี่ 9 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติส่วนตัว และอุปนิสัย (Personal history and habits)
อุปนิสัย ร่าเริง แจ่มใส ชอบเข้าสังคม ชอบสังสรรค์อาทิตย์ละ 3 วัน
การออกกำลังกาย ไม่มีการออกกำลังกายที่เป็นรูปแบบ
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ประจำ วันละ 6-8 มวน/วัน
การดื่มน้ำ ดื่มน้ำวันละประมาณ 1-2 ลิตร
การรับประทานอาหาร ทานอาหารไม่ตรงเวลา
การนอนหลับนอน วันละ 7-8 ชม. นอนหลับไม่สนิทเวลากลางคืน
1.ข้อมูลทั่วไป
ชายไทย อายุ : 79 ปี สถานภาพ : สมรส
เชื้อชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ ภูมิลำเนา : ปทุมธานี
อาชีพ : ไม่ได้ประกอบอาชีพ วุฒิการศึกษา : ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3.การตรวจร่างกาย ( Physical Examination )
General appearance
A Thai male aged 79 years, good consciousness, looked fatigue, well co-operative
น้ำหนัก 48 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI 18.75
อุณหภูมิ ( T) องศาเซลเซียส 36.0 การหายใจ (RR ) 26 ครั้ง/นาที
ชีพจร (PR ) ครั้ง/นาที 122 ความดันโลหิต ( BP) 120/83 มิลลิเมตรปรอท
Skin
No pallor, no jaundice, no abnormal pigmentation, no surgical scars or keloids
HEENT
HEENT Head: Normal shape and size, symmetry
Eyes: normal vision and eye moment , no squint , no paled conjunctiva pupils 3 mm.
Ears: ringing No discharge, no tenderness of mastoid, intact ear drum
Nose: Symmetrical nose, normal shape, mucous membrane pink not injected , no septum deviation or perforation, sinus area no tenderness.
Mouth & Throat: No exudate of tonsils, pink buccal mucosa, no stomatitis, no dental caries or gingivitis, 4 dentures, No fissure tongue, no glossitis, no enlargement of tonsils, midline and normal movement of uvular
Chest & Lung
Midline trachea, symmetrical chest, crepitation both lower lungs
Heart & cardiovascular
Normal heart sound , S1 = S2 clear , heart rate 88/min, regular , no murmur , apical impulse at 5 th LICS , no precordial heave or thrills
Nervous system
Good consciousness, speech normal, well co-operation, sensation normal, muscle power grade 5 all
Musculoskeletal & Extremities
No limitation of range of motion
Breasts
symmetrical chest
Genitalia
No examination
Rectum
Normal
Cranial nerves
(CN 1-12) - I, V, XI - no examination; II, III, IV, VI - normal direct and consensual light reflex, normal extraocular movement; VII - no facial palsy; IXand X - normal gag reflex; XII - no deviation of the tongue
4. Positive / negative finding
Positive finding :
จากการซักประวัติผู้ป่วยให้ประวัติว่า
9 ชั่วโมงก่อน มาโรงพยาบาลผู้ป่วยให้ประวัติว่า 20.00 น.มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดมาเรื่อย ๆ มีใจสั่นร่วมด้วย ไม่ได้ไปรักษาที่โรงพยาบาลไหน จึงมา รพ.ธัญบุรี แรกรับมารถนั่ง บ่นเหนื่อย คุยแล้วเหนื่อย
จากการตรวจร่างกาย
V/S PR=122 bpm RR=40 bpm O2sat 97
-Alert lab troponin-I 0.158 (4/09/2565)
EKG 12 lead:sinus tachycardia rate118/min ,STE at V1 V4
CXR:caphalization bothlung,cardiomegaly
Abdomen:mild tender at epigastrium
Lung:crepitation both lower lung
negative finding
:ไม่เคยมีประวัติ respiratory failure
5. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
Lymphocytes 11.7 %
20-40% ต่ำกว่าปกติ ร่างกายอาจอยู่ในภาวะเครียด
Eosinophils 0.4
6-12% ต่ำกว่าปกติ ร่างกายอาจอยู่ในภาวะเครียด
Sodium 133 mmol/L 135-145 mmol/L ต่ำกว่าปกติอาจเกิดการเสียน้ำมากเกิน
Monocytes 4.4 %
6-12% ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดภาวะโลหิตจาง
Potassium 1.17 mmol/L 3.5-5.30 mmol/L ต่ำกว่าปกติอาจเกิดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
Direct bilirubin 3.0g/dl 0.0-0.3 g/dL สูงกว่าปกติ
การตรวจร่างกายอื่นๆ
EKG : Sinus Tachycardia vale 118/min STE at V1-V4
CXR Cephalization both lungs cardiomegaly
7. การวินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis) พร้อมเหตุผล
หัวใจล้มเหลวheart failure
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure) คือ ภาวะที่หัวใจที่มีการสูญเสียหน้าที่หรือโครงสร้างทำให้มีปริมาณของเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง จนไม่สามารถสูบฉีคเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆของร่างกายได้อย่างเพียงพอจนส่งผลให้อวัยวะต่างๆเกิดการขาดออกซิเจนและจากปริมาณของเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง ทำให้มีการคั่งของเลือดในหัวใจห้องล่างส่งผลให้เกิดอาการหอบเหนื่อย ภาวะน้ำเกิน และอาการบวมตามร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน/เหตุผล
จากการซักประวัติผู้ป่วยให้ประวัติว่า
9 ชั่วโมงก่อน มาโรงพยาบาลผู้ป่วยให้ประวัติว่า 20.00 น.มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดมาเรื่อยๆ มีใจสั่นร่วมด้วย ไม่ได้ไปรักษาที่โรงพยาบาลไหน จึงมา รพ.ธัญบุรี แรกรับมารถนั่ง บ่นเหนื่อย คุยแล้วเหนื่อย O2sat 97%
โรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
V/S PR=122 bpm RR=40 bpm
-Alert lab trop I 0.158 (4/09/2565)
EKG 12 lead:sinus tachycardia rate118/min ,STE at V1 V4
CXR:caphalization both lung,cardiomegaly
Acute coronary syndrome (ACS)
ST elevation myocardial infarction (STEMI) คือภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่พบความ ผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกัน หรือเกิด Left Bundle Branch Block (LBBB) ขึ้นมาใหม่ ซึ่งเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน หากผู้ป่วยไม่ได้รับการ เปิดเส้นเลือดที่อุดตันในเวลาอันรวดเร็ว จะทําให้เกิด Acute ST elevation myocardial infarction อาการ เจ็บอกหรือแน่นหน้าอก ซึ่งอาจร้าวไปไหล่ แขน หลัง คอหรือกราม บ่อยครั้งเจ็บบริเวณกลางอกหรืออกด้านซ้าย บางทีอาจรู้สึกคล้ายอาการแสบร้อนกลางอก อาการอื่น ได้แก่ การหายใจลำบาก คลื่นไส้ รู้สึกหมดสติ เหงื่อแตก หรือรู้สึกล้า
จากการซักประวัติผู้ป่วยให้ประวัติว่า
9 ชั่วโมงก่อน มาโรงพยาบาลผู้ป่วยให้ประวัติว่า 20.00 น.มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดมาเรื่อยๆ มีใจสั่นร่วมด้วย ไม่ได้ไปรักษาที่โรงพยาบาลไหน จึงมา รพ.ธัญบุรี แรกรับมารถนั่ง บ่นเหนื่อย
2.Unstable angina (UA)/ Non ST elevation myocardial infarction (NSTEMI) เหตุผลที่นํา Unstable angina มารวมกับ Non ST elevation myocardial infarction เนื่องจากทั้งสองกลุ่มอาการมักจะมี ก้อนเลือด (Thrombus) เกิดขึ้นในหลอดเลือดหัวใจเหมือนกัน การแบ่งระหว่าง UA กับNSTEMI ขึ้นอยู่กับระดับ เอ็นไซม์ของหัวใจ (Cardiac enzyme) ถ้าไม่เพิ่มขึ้นจากค่าปกติถือเป็น Unstable angina
6. รายการปัญหา (Problem list)
6.1ปัญหาหลัก
-crepitation both lower lung
-หายใจเหนื่อยหอบ RR 26 bpm On Oxygen canula
-P=122 bpm
6.2ปัญหารอง
-O2 sat 97%
8. การวินิจฉัยโรค (diagnosis) พร้อมเหตุผล
STEMI
จากการซักประวัติผู้ป่วยให้ประวัติว่า 9 ชั่วโมงก่อน มาโรงพยาบาลผู้ป่วยให้ประวัติว่า 20.00 น.มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดมาเรื่อย ๆ มีใจสั่นร่วมด้วย ไม่ได้ไปรักษาที่โรงพยาบาลไหน จึงมา รพ.ธัญบุรี แรกรับมารถนั่ง บ่นเหนื่อย คุยแล้วเหนื่อย O2sat 97%
โรคประจำตัว
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
V/S PR=122 bpm RR=40 bpm
-Alert lab trop I 0.158 (4/09/2565)
อาการของ
STEMI อาการ เจ็บอกหรือแน่นหน้าอก ซึ่งอาจร้าวไปไหล่ แขน หลัง คอหรือกราม บ่อยครั้งเจ็บบริเวณกลางอกหรืออกด้านซ้าย บางทีอาจรู้สึกคล้ายอาการแสบร้อนกลางอก อาการอื่น ได้แก่ การหายใจลำบาก คลื่นไส้ รู้สึกหมดสติ เหงื่อแตก หรือรู้สึกล้า
จึงวินิฉัยโรคเบื่องต้นคือST elevation myocardial infarction (STEMI
)
9. สรุปความรู้เกี่ยวกับโรคเปรียบเทียบกับกรณีศึกษา
การวินิจฉัย
2.Troponin การตรวจ Troponin-T (cTnT) หรือ Troponin-I (cTnI)
ECG มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของ ECG ที่บ่งถึงภาวะหัวใจขาดเลือด ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง
Sinus Tachycardia vale 118/min STE at V1-V4
3.Creatinine kinase (CK) การเจาะหาค่า Total CK อาจพบว่ามีค่าสูงขึ้นในกล้ามเนื้อหัวใจตาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการชนิดอื่นๆ ได้
แก่ CBC with platelet count, Blood chemistry,
Chest X-ray, Echocardiogram, Radionuclide study และ Coronary angiography
แนวทางการรักษา
STEMI ให้ยาสลายลิ่มเลือด ,การขยายหลอดเลือดโคโลนารี (Percutaneous coronary intervention; PCI) โดยใส่สายสวน และแพทย์จะสอดเส้นลวดผ่านสายนำเข้าไปที่จุดตีบแคบของหลอดเลือดหัวใจ หลังจากนั้นจะนำสายชนิดพิเศษที่มีบอลลูนติดอยู่ตรงปลาย วางตำแหน่งบอลลูนให้ตรงกับจุดที่มีการตีบแคบของหลอดเลือด แล้วใช้แรงดันทำให้บอลลูนกางออก ผลักรอยตีบของหลอดเลือดหัวใจให้เปิดกว้าง ทำให้เลือดไหลผ่านได้สะดวกขึ้น เสร็จแล้วจึงดึงบอลลูนออกจากตัวผู้ป่วย
แนวทางการรักษาที่ให้ขณะนอนโรงพยาบาล
รักษาโดยการใช้ยา
Glipizeide 5 mg. 1*2 po ac.
Ativan 0.5 mg. 1 tad oral prn. Hs
Atorvastatin 40 mg. 1 tad oral hs.
Omeprazole 20 mg. 1*1 po ac.
Enoxa 0.4 cc SC
Plavix 75 g 4 tap oral
ASA gr. I 81 mg. 1tad oral OD pc.
พยาธิสภาพ
กลุ่มสภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronaryกลุ่มสภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronaryสภาพหรือแข็งตัว (Atherosclerosis) แล้วเกิดมีการฉีกขาดหรือปริแตกที่ด้านในของผนังหลอดเลือดส่วนที่เสื่อมสภาพอย่างเฉียบพลันPlaque rupture, disruption) เกิด Raw surface ขึ้นที่ผนังด้านในของหลอดเลือด เกล็ดเลือดจะเกาะกลุ่ม (Platelet aggregation)อย่างรวดเร็วตรงบริเวณที่มีการปริแตกหรือฉีกขาด หลังจากนั้นจะมีการกระตุ้นให้เกิดลิ่มเลือด (Thrombus formation) อย่างรวดเร็วในบริเวณดังกล่าว หากลิ่มเลือดอุดกั้นบางส่วน (Partial occlusion) ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจบางส่วน เกิดอาการเจ็บหน้าอกไม่คงที่ (Unstable angina) โดยยังไม่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายถ้าลิ่มเลือดเกิดอุดต้น โดยสมบูรณ์ (Complete occlussion) จะมีผลทำให้เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardialinfarction, AMI)
10. การรักษาและการให้การพยาบาล พร้อมบอกเหตุผล
10.1 การวางแผนสำหรับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
การวางแผนการพยายาบาล
-ส่งเสริมผู้ป่วยมารักษาติดตามอาการตามนัดทุกครั้ง
-ป้องกันภาวะ
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
-ให้ ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนท่าศีรษะสูง
-ให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ สงบและสบาย ให้ออกซิเจนแคนูลาทางจมูก 2-6 ลิตร กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและหายใจ ลึกๆ ให้เปลี่ยนท่าและพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ งอเข่าและข้อเท้าทุกชั่วโมงเพื่อช่วย ให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
-จัดให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารมื้อละน้อย ให้พักหลังอาหาร และงดกาแฟ ให้ยาขยายหลอดเลือด และแนะนำให้เปลี่ยนท่าการเคลื่อนไหว ร่างกายให้ช้าๆ ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา เช่น Furosemide Hydrochlorothiazide ควรให้เวลาเช้าและกลางวัน จำกัด จำกัดเกลือโซเดียม (น้ำปลา ซีอิ๊ว ปลาร้า ปลาจ่อม เต้าเจี้ยว เต้าหู้ ปลาเค็ม ผงชูรส ของหมักดอง ของสำเร็จรูป อาหารที่ใส่ผงฟู จำกัดการเยี่ยมจากบุคคลอื่น ให้ผู้ป่วยนอนหลับ อย่างน้อย 8 ชั่วโมงต่อวัน โดยสร้างบรรยากาศให้เงียบสงบ หลีกเลี่ยงการเบ่ง ถ่ายอุจจาระเมื่อมีท้องผูก แพทย์มักจะให้ยาระบายหรือยาหล่อลื่น หลีกเลี่ยงอาหาร เค็ม งดดื่มแอลกอฮอล์
ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆของผู้ป่วย พร้อมทั้งซักถามความต้องการของผู้ป่วยโดยพยาบาลควรให้เวลาและตั้งใจรับฟังปัญหาอย่างต่อเนื่อง เพื่อทำให้ทราบและเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกไม่สบายใจที่มีอยู่ หรือความรู้สึกกลัว โดยพยาบาลต้องยอมรับกับความรู้สึกต่างๆ ของผู้ป่วย และอธิบายว่าเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นได้ตามปกติ เพราะการให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกจะช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลลงได้
สอนและแนะนำเทคนิคการผ่อนคลายที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้ป่วย โดยควรฝึกให้ผู้ป่วยสามารถนำเทคนิคการผ่อนคลายมาปฏิบัติได้ เพื่อช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
ควรกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัวญาติ หรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ดตัว ป้อนอาหาร ดูแลการขับถ่าย เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีกำลังใจที่ดี และลดความวิตกกังวลได้
มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของอาการที่เกิดขึ้นไปในทางที่ดีเพื่อให้ผู้ป่วยมีกำลังใจและลดความวิตกกังวลได้ แต่ต้องระมัดระวังการให้ข้อมูลมากเกินไปหรือการให้ความมั่นใจเกี่ยวกับอาการที่เปลี่ยนแปลงเกินความจริง
ประเมินความพร้อมในการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วย รวมทั้งญาติด้วยและมีการประเมินวิถีชีวิตของผู้ป่วยโดยพิจารณาตามอายุ อาชีพ บุคลิกภาพแรงจูงใจ ลักษณะครอบครัว รวมไปถึงความร่วมมือ
ดูแลจัดการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง เพื่อช่วยป้องกันอาการกำเริบรุนแรง และลดการกลับเข้ารักษาช้ำในโรงพยาบาลเมื่อกลับบ้าน
10.2การรักษาโรคเบื้องต้น (ยา,เวชภัณฑ์อื่นๆ )
Omeprazole 20 mg. 1*1 po ac.
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ H,K,ATPase ซึ่งทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนไฮโดรเจนอิออนออกจากเซลล์ Parietal ของกระเพาะอาหาร จึงยับยั้งการสร้างกรดเกลือในกระเพาะอาหารที่ขั้นตอนสุดท้าย จึงหยุดได้ทั้งกรดที่หลั่งเองตามปกติและกรณีที่เกิดจากการกระตุ้นต่างๆได้อย่างสมบูรณ์
ผลข้างเคียง
:คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ผื่นแพ้ ท้องเสีย ปวดท้อง อาการคัน ไอ มีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ มึนงง ท้องเดิน ท้องผูก
ASA gr. I 81 mg. 1tad oral OD pc.
ใช้ป้องกันการเกิดการแข็งตัวของเลือด โดยออกฤทธิ์ลดการจับกลุ่มของเกล็ดเลือด
ผลข้างเคียง
: เลือดแข็งตัวช้า หูอื้อ เวียนศีรษะ ผื่นคัน
Glipizeide 5 mg. 1*2 po ac.
เพิ่มจำนวนอินซูลินรีเซพเตอร์ในเนื้อเยื่อต่างๆเช่น กล้ามเนื้อ ไขมัน ตับ เป็นต้น และช่วยให้ไวต่อการจับกับอินซูลิน กระตุ้นและเพิ่มจำนวนเซลล์บีในตับอ่อน ทำให้มีการหลั่งอินซูลินเสริมฤทธิ์ของอินซูลินภายในเซลล์ ยับยั้งการจับและทำลายอินซูลินโดยตับ ลดระดับกลูคากอนยับยั้งการสร้างกลูโคสที่ตับ
ผลข้างเคียง:
1.เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
3.อาการที่พบบ่อย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย มีการหลั่งกรดเพิ่ม ปวดท้อง
2.แพ้ยา จะมีผื่นคันตามผิวหนังหรือตุ่มพองและลอก
Clopidogrel 75 mg. 1 tad oral OD pc
ต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด โดยยับยั้งการจับของ ADP บน Platelet receptor เป็นผลให้ ADP ไม่สามารถกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงที่ Glycoprotein Ilb/Ila complex
ผลข้างเคียง
: การมีเลือดออกในทางเดินอาหาร ในสมอง อาจเกิดเม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil ต่ำมาก
Paracetamol 500 mg. 1 tab po prn q 4-6 hr.
ยับยั้งการสังเคราะห์ Prostaglandins ในระบบประสาทส่วนกลางได้ดี แต่ยับยั้งการสร้างสารนี้ที่บริเวณนอกสมองได้น้อยโดยเฉพาะในบริเวณที่เกิดการอักเสบซึ่ง Prostaglandi เป็นตัวทำให้เกิดความเจ็บปวดและทำให้เกิดไข้ที่มีผลต่อศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายที่ฮัยโปธาลามัสยานี้ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเคลื่อนตัวของ Neutrophil
ผลข้างเคียง
:ง่วงซึมแพ้ยาเช่นมีผืนบวมเป็นผลที่เยื่อบช่องปากมีใข้เป็นต้นในขนาดที่มากเกินไปอาจทำให้เกิดตับวายและถึงแก่ความตายได้คลื่นไส้อาเจียนอ่อนเพลียอาการดีข่านระดับน้ำตาลในเลือดต่าอาจมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Atorvastatin 40 mg. 1 tad oral hs.
ยับยั้งการทำงานของเอนไชม์ 3-hydroxy-3-methylglutaryl-coenzyme-A (HMG-Reductase ในการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล
ผลข้างเคียง
: มีไข้ เจ็บหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อุจจาระอัดแน่น ท้องอืด มีเอนไชม์ตับเพิ่มขึ้น
Ativan 0.5 mg. 1 tad oral prn. Hs
ผลข้างเคียง
: ง่วงซึม อ่อนแรง สับสน มึนงง หัวใจเต้นช้า หรือหัวใจหยุดเต้น เห็นภาพซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักและความอยากอาหาร อาจเพิ่มหรือลด ปากแห้ง มีน้ำลายมาก ประจำเดือนผิดปกติ ผื่นคัน แพ้แสง ตับและไตเสียหน้าที่
:check:กดประสาทส่วนกลาง โดยเสริมฤทธิ์ Gamma aminobutyric acid (GABA)ทำให้การยับยั้งและอุดกั้นการตื่นตัวของกระแสประสาททั้งส่วน Limbic และ Subcotica จึงทำให้สมองส่วนรับความรู้สึกถูกกด การเคลื่อนไหวจึงช้าลง การทำหน้าที่ของสมองเกิดการเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดอาการซึม มึนงง ง่วงหลับ
10.3 การให้คำแนะนำหรือการส่งต่อ (ตามหลัก D-METHOD)
M Medicine
แนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด สรรพคุณของยา ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยาด้วย
ควรรับประทานยากันชักตามคำแนะนำของแพทย์ทุกวันอย่างสม่ำเสมอและตามเวลาที่แนะนำ
ควรสังเกตอาการข้างเคียงของยาตามคำแนะนำของแพทย์หากพบอาการผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย์ก่อนตัดสินใจหยุดยาเองเพราะบางกรณี หากหยุดยาเองอาจทำให้เกิดอาการชักอย่างรุนแรงเพราะขาดยาได้
จดบันทึกลักษณะอาการชักทุกครั้งที่มีตลอดจนวันและเวลาที่มีอาการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อแพทย์ในการปรับขนาดยาหรือช่วงเวลาที่จะให้ยาแก่ผู้ป่วย
E Environment /Environment
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการปัญหาด้านเศรษฐกิจ บางรายอาจจะต้องฝึกฝนอาชีพใหม่ หลีกเลี่ยงงานที่เสี่ยงอันตราย เช่น งานที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกล,แสงกะพริบ,เสียงดัง,ของมีคม, ที่สูง, ใกล้น้ำ เป็นต้น
D Diagnosis
แนะนำเกี่ยวกับอาหารหลักการควบคุมเกลือโซเดียม วิธีการเลือกรับประทานอาหารที่มีเกลือโซเดียมต่ำ เพื่อช่วยผู้ป่วยและครอบครัวในการวางแผนจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมรวมถึงวิธีการจำกัดน้ำ การสังเกตปริมาณปัสสาวะและการประเมินสมดุลของน้ำเบื้องต้น
T Treatment ทักษะที่เป็นตามแผนการรักษา
Glipizeide 5 mg. 1*2 po ac.
Ativan 0.5 mg. 1 tad oral prn. Hs
Atorvastatin 40 mg. 1 tad oral hs.
Omeprazole 20 mg. 1*1 po ac.
Enoxa 0.4 cc SC
Plavix 75 g 4 tap oral
ASA gr. I 81 mg. 1tad oral OD pc.
H Health
เรียนรู้อาการต่างๆ ของภาวะคั่งน้ำและเกลือ ได้แก่ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น บวม เหนื่อย นอนราบไม่ได้หรือต้องลุกขึ้นมานั่งหอบตอนกลางคืน หากมีอาการต้องรีบมาโรงพยาบาล
ชั่งน้ำหนักตัวเองและบันทึกทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้งในตอนเช้า ภายหลังเข้าห้องน้ำขับถ่ายแล้ว และต้องชั่งก่อนรับประทานอาหารเช้า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวมากกว่า 1 กิโลกรัมจากเดิมภายใน 1-2 วัน (หรือ 2 กิโลกรัมภายใน 3 วัน) แสดงถึงภาวะคั่งน้ำและเกลือแล้ว
ควรงดสูบบุหรี่ เนื่องจากสารนิโคตินในบุหรี่ทำให้หลอดเลือดหดตัว การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกและทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อการนำออกซิเจนเข้าสู่เนื้อเยื่อ ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น
จำกัดการรับประทานเกลือโซเดียม (2-3 กรัมต่อวัน) ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม อาหารกระป๋อง และของหมักดอง และไม่เติม เกลือ น้ำปลา หรือซีอิ๊วลงไปเพิ่ม ควรจำกัดปริมาณน้ำดื่มตามแผนการรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวในผู้ที่มี
ภาวะเสี่ยงและป้องกันการกำเริบของโรค ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับความรู้และคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ดังนี้
งดสูบบุหรี่และจำกัดการดื่มแอลกอฮอล์ไม่เกิน 1-2 แก้วต่อวัน หรืองดอย่างเด็ดขาด เนื่องจากแอลกอฮอล์มีผลกดการทำงานของหัวใจและทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม
ให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง การรับประทานยาให้ต่อเนื่อง ห้ามขาดยา งดดื่มแอลกอฮอร์ สารเสพติด ที่เป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการดังกล่าว
รับประทานยารักษาอย่างสม่ำเสมอ หากมีอาการผิดปกติใดๆ ที่เป็นอาการข้างเคียงของยาต้องปรึกษาแพทย์ก่อนหยุดรับประทานยาทุกครั้ง หากซื้อยารับประทานจากร้านยาต้องปรึกษาแพทย์ถึงผลข้างเคียงของยาต่อหัวใจ ไต หรือปฏิกิริยาร่วมกับยาอื่นที่ใช้รักษาอยู่
รับประทานยารักษาอย่างสม่ำเสมอ หากมีอาการผิดปกติใดๆ ที่เป็นอาการข้างเคียงของยาต้องปรึกษาแพทย์ก่อนหยุดรับประทานยาทุกครั้ง หากซื้อยารับประทานจากร้านยาต้องปรึกษาแพทย์ถึงผลข้างเคียงของยาต่อหัวใจ ไต หรือปฏิกิริยาร่วมกับยาอื่นที่ใช้รักษาอยู่
O Out patient
การมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลต่อเนื่อง รวมถึงให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเมื่อผู้ป่วยเกิดอาการใจสั่น แน่นหน้าอก หรือเจ็บหน้าอก จุกใต้ลิ้นปี่
การปฐมการพยาบาลเบื้องต้น
-พยายามเรียก หรือเขย่าตัวว่า ผู้ป่วยยังมีสติอยู่หรือไม่-พยายามเรียก หรือเขย่าตัวว่า ผู้ป่วยยังมีสติอยู่หรือไม่
ติดต่อขอความช่วยเหลือจากผู้ที่อยู่ในบริเวณนั้น หรือโทรติดต่อ 1669 หรือโรงพยาบาล หรือทีมกู้ภัยใกล้เคียงทันทีหากผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เอง ให้ปฐมพยาบาลด้วยการเป่าลมเข้าปอดด้วยวิธีเป่าแบบปากต่อปากพร้อมกับดันหน้าผากและดึงคาง หรือการเป่าแบบปากต่อปากขณะยกขากรรไกรล่าง แต่ละแบบให้เป่าครั้งละ 2 วินาที แล้วถอนปากออกมาให้ลมหายใจออกผ่านกลับออกมาทางปาก โดยขณะช่วยหายใจทางปากให้ใช้มือบีบจมูก ไม่อย่างนั้นแล้วลมจะไม่เข้าปอด
-กดหน้าอก เริ่มด้วยการหาตำแหน่งครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก วางนิ้วมือทั้งสองถัดจากจุดนั้นขึ้นไป แล้ววางมือทาบอกบนอีกมือหนึ่ง โดยอาจประสานนิ้ว หรือไม่ก็ได้ จากนั้นกดหน้าอกแล้วปล่อย ทำติดต่อกัน 30 ครั้ง เวลากดอย่างอแขน โน้มตัวไปข้างหน้าให้ช่วงไหล่อยู่เหนือร่างผู้หมดสติเพื่อให้ทิศของแรงกดดิ่งลงสู่หน้าอกเป่าลมเข้าปอด 2 ครั้ง สลับกับกดหน้าอก 30 ครั้ง อย่างน้อย 4 รอบ ถ้ายังไม่ได้สติก็ทำซ้ำอีก 4 รอบ จนกว่าผู้ป่วยจะรู้ตัว หรือจนกว่าความช่วยเหลือจะมาถึง
หากมีเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (Automated External Defibrillators: AED) สามารถนำมาใช้ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้
D Diet
หมู่ที่ 1 ประเภทโปรตีน คือ สารอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ นม ไข่
การเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับโรคหลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ผู้ป่วยโรคลมชักสามารถรับประทานอาหารได้ทุกชนิดที่ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการ ไม่มีอาหารต้องห้ามใดๆ ควรรับประทานอาหารที่หลากหลายให้ครบ 5หมู่
หมู่ที่ 2 ประเภทคาร์โบไฮเดรต คือ สารอาหารจำพวกข้าว แป้ง น้ำตาล
-หมู่ที่ 3 ประเภทเกลือแร่หรือแร่ธาตุ คือ สารอาหารจำพวกพืช ผักชนิดต่างๆ
-หมู่ที่ 4 ประเภทวิตามิน คือ สารอาหารจำพวกผลไม้ต่างๆ
-หมู่ที่ 5 ประเภทไขมัน คือ สารอาหารจำพวกไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์
สรุปและวิเคราะห์การประชุมปรึกษาทางการพยาบาลรายกรณี
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 79 ปี ภูมิลำเนา ตำบลรังสิต อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี มาโรงพยาบาลด้วยอาการสำคัญ คือ มีอาการปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ และปวดกลางท้องมาเรื่อย ๆ ใจสั่นร่วมด้วยจึงมาโรงพยาบาล
มีประวัติเป็นโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
แรกรับที่ ER อุณหภูมิ T. 36.5 องศาเซลเซียส การหายใจ (RR ) 26 ครั้ง/นาที ชีพจร (PR ) 122ครั้ง/นาที ความดันโลหิต ( BP) 123/73 มิลลิเมตรปรอท น้ำหนัก 48 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI 18.75 มม.กก2
การตรวจร่างกาย พบ Lung : crepitation both lower lungs
Abdomen : soft,mild tender at epigastrium,no guarding,no rebound tenderness
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ Lymphocytes ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดอยู่ในภาวะเครียด Monocytes ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดภาวะโลหิตจาง Eosinophils ต่ำกว่าปกติร่างกายอาจอยู่ในภาวะเครียด Sodium ต่ำกว่าปกติอาจเกิดการเสียน้ำ Potassium ต่ำกว่าปกติอาจเกิดการทำงานของกล้ามเนื้อและกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น : : Acute myocardial infaretionunspectied
ได้รับการรักษาด้วย on canular 3 lit/min CXR ทำ EKG 12 lead Retain foley catheter
keep urine output >400 ml/8hr แพทย์พิจารณาให้นอนพักรักษา สังเกตอาการ 24 ชม. ในโรงพยาบาลที่แผนกฉุกเฉินเพื่อรอ Admit med