Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา, ชื่อ นางสาวปนัดดา ฤทธิ์ทานันท์ …
ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance-EQA )) :red_flag:
แนวคิดและหลักการของการประเมินคุณภาพภายนอก
เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดเด่น-จุดด้อยของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสำเร็จ และ สาเหตุของปัญหา
เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
เพื่อตรวจสอบ ยืนยันสภาพจริงในการดาเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
ความสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก
เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษาและหน่วยงานที่กำกับดูแล เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้สังกัด สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชน
เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาว่าสถานศึกษาได้จัดการศึกษามุ่งสู่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสุขเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลสาคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐานของ สถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด
ผู้รับผิดชอบ :
สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมิน คุณภาพการศึกษา(สมศ.)
ระดับคุณภาพของมาตรฐานการศึกษา
ดี
ดีมาก
พอใช้
ดีเยี่ยม
ปรับปรุง
การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance-IQA ) :red_flag:
หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามี 3 ประการคือ
การที่จะดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามจุดมุ่งหมายการประกันคุณภาพภายใน ต้องทำให้การ ประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทำงานของ บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ใช่เป็นกระบวนการที่แยกส่วนมาจากการดำเนินงานตามปกติ ของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาจะต้องวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการที่มีเป้าหมายชัดเจน ทำตามแผนตรวจสอบประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบที่มีความ โปร่งใสและมีจิตสำนึกในการพัฒนาคุณภาพการทำงาน
จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุง คุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ไม่ใช่การจับผิดหรือทำให้บุคลากรเสียหน้า โดย เป้าหมายสำคัญอยู่ที่ การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์และบุคลากรอื่น ๆ ในสถานศึกษาโดยในการดำเนินงานจะต้องให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนด เป้าหมาย วางแผน ติดตามประเมินผลพัฒนาปรับปรุง ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ช่วยกันผลักดันให้ สถานศึกษามีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการของ ผู้ปกครอง สังคม และประเทศชาติ
กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารที่เป็นกระบวนการครบวงจร (PDCA) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ
การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing)
การร่วมกันตรวจสอบ (Checking)
การร่วมกันวางแผน (Planning)
การร่วมกันปรับปรุง (Action)
กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพ มี 2 ขั้นตอนคือ
การควบคุมคุณภาพ เป็นการกำหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน
การตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบ และติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษาให้ เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ผู้รับผิดชอบ
โรงเรียน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
3.การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
คุณภาพเด็ก
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คุณภาพของผู้เรียน
2.กระบวนการบริหารและการจัดการ
3.กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระดับคุณภาพของมาตรฐานการศึกษา
ดี
ปานกลาง
ดีเลิศ
กำลังพัฒนา
ยอดเยี่ยม
ชื่อ นางสาวปนัดดา ฤทธิ์ทานันท์ รหัสนักศึกษา 656150110202 เลขที่ 15