Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 - Coggle Diagram
:star:
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2560
หมวด 1 บททั่วไป
(ม. 1 - 5)
ม.1
ป.ไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้
ม.2
ป.ไทยมีการปกครองระบอบ ปชต. อันมี King ทรงเป็นประมุข
ม.3
รัฐสภา ครม. ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามรธน. กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม
อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย King ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา ครม. และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรธน.
ม.4
ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรธน.เสมอกัน
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง
ม.5
รธน.เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎหรือข้อบังคับ หรือการกระทำใด ขัดหรือแย้งต่อ รธน. บทบัญญัติหรือการกระทำนั้นเป็นอันบังคับใช้มิได้
เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่ง รธน. นี้บังคับแก่กรณีใด ให้การกระทำหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบ ปชต. อันมี King ทรงเป็นประมุข
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
(ม.6 - 24)
King
(ม.6-9)
ม.6
องค์ King ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้อง King ในทางใดๆ มิได้
ม.7
King ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก
ม.8
King ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย
ม.9
King ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์
อคมต.
(ม.10-15)
ม. 10
King ทรงเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็น ปธ.อคมต. คนหนึ่ง และ อคมต. อื่นอีกไม่เกิ 18 คน ประกอบเป็นคณะ อคมต.
ม.11
การเลือกและแต่งตั้ง อคมต. หรือการให้ อคมต.พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
ให้ ปธ.รัฐสภา เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ปธ.อคมต.หรือให้ปธ.อคมต.พ้นจากตำแหน่ง
ให้ ปธ.อคมต.เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง อคมต.อื่น หรือให้อคมต.อื่นพ้นจากตำแหน่ง
ม.12
อคมต.ต้องไม่เป็น สส. สว. หรือดำรงตำแหน่งทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรธน. ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ จนท.อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือจนท.ของพรรคการเมือง หรือขรก.เว้นแต่การเป็นขรก.ในพระองค์ในตำแหน่งอคมต. และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใดๆ
ม.13
ก่อนเข้ารับหน้าที่ อคมต.ต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อ King ดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”
ม.14
อคมต.พ้นจากตำแหน่งเมื่อตาย ลาออก หรือมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตำแหน่ง
ม.15
การแต่งตั้งและการให้ขรก.ในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ห้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
การจัดระเบียบบริหารราชการและการบริหารบุคคลของขรก.ในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพรฎ.
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(ม.16-19)
ม.17
ในกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ ตามมาตรา ๑๖ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่สามารถทรงแต่งตั้งผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์เพราะ ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะหรือเพราะเหตุอื่น แต่ต่อมาคณะองคมนตรีพิจารณาเห็นว่ามีความจําเป็นสมควร แต่งตั้งผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์และไม่อาจกราบบังคมทูลให้ทรงแต่งตั้งได้ทันการ ให้คณะองคมนตรี เสนอชื่อบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะ ตามลําดับที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมกําหนดไว้ก่อนแล้ว ให้เป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ แล้วแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อประกาศในพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นขึ้นเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค
ม.18
ในระหว่างที่ไม่มีผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๑๗ ให้ประธาน องคมนตรีเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน
ในกรณีที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ประธานองคมนตรีทําหน้าที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว ไปพลางก่อน
ในระหว่างที่ประธานองคมนตรีเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคหนึ่ง หรือในระหว่างที่ ประธานองคมนตรีทําหน้าที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคสอง ประธานองคมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะเป็นประธานองคมนตรีมิได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้คณะองคมนตรีเลือกองคมนตรีคนหนึ่งขึ้น ทําหน้าที่ประธานองคมนตรีเป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน
ม.19
ก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ ต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมรัฐสภาด้วยถ้อยคํา ดังต่อไปนี้
“ข้าพเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ (พระปรมาภิไธย) และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้ และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”
ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้งและปฏิญาณตนมาแล้ว ไม่ต้องปฏิญาณตนอีก
ม.16
ในเมื่อ King จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็าม จะทรงแต่งตั้งบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะขึ้น ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ และในกรณีที่ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ให้ปธ.รัฐสภาเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ
การสืบราชสมบัติ
(ม.20-24)
ม.21
ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้ง พระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ แล้ว ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อรับทราบ และให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธาน รัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา ๒๐ ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ เมื่อรัฐสภา ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
ม.22
ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ตามมาตรา ๒๑ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน แต่ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงในระหว่างที่ได้แต่งตั้งผู้สําเร็จราชการ แทนพระองค์ไว้ตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ หรือระหว่างเวลาที่ประธานองคมนตรีเป็นผู้สําเร็จราชการ แทนพระองค์ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง ให้ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์นั้น ๆ แล้วแต่กรณี เป็นผู้สําเร็จราชการ แทนพระองค์ต่อไป ทั้งนี้ จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย
ในกรณีที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งได้รับการแต่งตั้งไว้และเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ ต่อไปตามวรรคหนึ่ง ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ประธานองคมนตรีทําหน้าที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน
ในกรณีที่ประธานองคมนตรีเป็นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคหนึ่ง หรือทําหน้าที่ ผ้สู ําเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราวตามวรรคสอง ให้นํามาตรา ๑๘ วรรคสาม มาใช้บังคับ
ม.23
ในกรณีที่คณะองคมนตรีจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๒๑ วรรคสอง หรือประธานองคมนตรีจะต้องเป็นหรือทําหน้าที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือมาตรา ๒๒ วรรคสอง และอยู่ในระหว่างที่ไม่มีประธานองคมนตรี หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะองคมนตรีที่เหลืออยู่เลือกองคมนตรีคนหนึ่งเพื่อทําหน้าที่ ประธานองคมนตรี หรือเป็นหรือทําหน้าที่ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง แล้วแต่กรณ
ม.24
การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กระทําต่อพระรัชทายาทซึ่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้ว หรือต่อผู้แทนพระองค์ก็ได้
ในระหว่างที่ยังมิได้ถวายสัตย์ปฏิญาณตามวรรคหนึ่ง จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้ซึ่ง ต้องถวายสัตย์ปฏิญาณปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้
ม.20
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ การสืบราชสมบัติให้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗
การแก้ไขเพ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ เป็นพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ เมื่อมีพระราชดําริประการใด ให้คณะองคมนตรีจัดทํา ร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อมีพระราชวินิจฉัย เมื่อทรงเห็นชอบและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประธานองคมนตรีดําเนินการแจ้งประธานรัฐสภา เพื่อให้ประธานรัฐสภาแจ้งให้รัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
(ม.25 - 49)
ม25
ม.26
ม.27
ม.28
ม.29
ม.30
ม.31
ม.32
ม.33
ม.34
ม.35
ม.36
ม.37
ม.38
ม.39
ม.40
ม.41
ม.42
ม.43
ม.44
ม.45
ม.46
ม.47
ม.48
ม.49
หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
(ม.50)
ม.50
บุคคลมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
(9)
(10)
(1)
หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
(ม.51 - 63)
หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ
(ม.64-78)
หมวด 7 รัฐสภา
(ม.79-157)
หมวด 8 คณะรัฐมนตรี
(ม.158-183)
หมวด 9 การขัดกันแห่งผลประโยชน์
(ม.184-187)
หมวด 10 ศาล
(ม.188-193)
หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ
(ม.200 - 214)
หมวด 12 องค์กรอิสระ
(ม. 215 - 221)
หมวด 13 องค์กรอัยการ
(ม.248)
หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
(ม.249 - 254)
หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
(ม.255 - 256)
หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
(ม.257 - 261)
บทเฉพาะกาล (ม.262 - 279)