Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human Embryology, Gestation periods: 3 trimesters, อ้างอิง : Human…
Human Embryology
ฮอร์โมนจากการตั้งครรภ์
HCG
สร้างจาก syncytiotrophoblast
ให้ corpus luteum อยู่จน 10 week
ประโยชน์
ทดสอบการตั้งครรภ์, วินิจฉัยครรภ์นอกมดลูก, ติดตาม GTD
HPL
สร้างจาก syncytiotrophoblast
ย้ายไขมันและปล่อยมาในรูปของกรดไขมันอิสระ
Progesterone
10 week แรกสร้างจาก corpus luteum ที่เหลือสร้างจากรก
มดลูกอยู่ในสภาวะสงบ กระตุ้นพัฒนาต่อมน้ำนม
Estrogen
สร้างจากรก + ต่อมหมวกไตของทารก
Prenatal period
Embryonic Period
4th week
C-shape
มีโครงสร้างอวัยวะต่างๆเกิดขึ้น
First pharyngeal arch, Hyoid arch, Upper limb/Lower limb bud, Otic pit, Lens placode, Forebrain prominence, Heart
5th week
ศีรษะใหญ่ขึ้น
6th week
หัวใจมีขนาดใหญ
พบนิ้วมือและนิ้วเท้า
หูส่วนนอกขึ้น
7th – 8th week
โครงสร้างส่วนใหญสมบรูณ์
เข้าสู่ fetal period
3rd week
มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
mesoderm
เกิดก่อตัวระหว่างepiblast และ endoderm
endoderm
ก่อตัวจากmigrating cells
ectoderm
ก่อตัวจาก epiblast cells
primitive streak
เป็นจุดเริ่มต้นของ gastrulation และการสร้างอวัยวะต่างๆ
บริเวณที่ไม่มี mesoderm ได้แก่ prochordal plate และ cloacal plate
ให้กำเนิด mesoderm ไปจนถึงปลายสัปดาห์ที่ 4 จากนั้น จะเสื่อมสลายไปจนหมด และมี notochord เกิดขึ้นแทน
สลายไม่หมด ทำให้เกิดเนื้องอกเรียกว่า teratoma
Notochord
แทรกอยู่ระหว่างชั้น epiblast และ hypoblast ในแนว midline
ทําหน้าที่เป็น primitive axis ของ embryonic disc ให้ค วามแข็งแกร่ง แก่ตัวอ่อนในช่วงนี้
Germinal stage
1st Week
Fertilization
2 กระบวนการ ก่อาจะเกิดการปฏิสนธิกับegg
Capacitation
การหลุดลอกของ glycoprotein ที่หุ้ม acrosome
Acrosome reaction
เกิดรูพรุนที่ผนัง acrosome หลั่ง enzyme ออกมา เพื่อย่อยเยื่อหุ้มเซลล์ไข่
female pronucleus และ male pronucleusจะรวมกันได้เป็น zygote
มักเกิดที่ตำแหน่ง ampulla of oviduct
Uterine walls
Perimetrium
Myometrium
Endometrium
Functional layer : menstruation
Basal layer
Blastocyst
fluid-filled structure ~ 60 cells
ฝังตัวที่ endometrium
2nd Week
Trophoblast
Cytotrophoblast
Syncytiotrophoblast
Two cavities
Syncytiotrophoblast
Yolk sac
Bilaminar germ disc
Epiblast
Hypoblast
Fetal period
9th - 12th week
หัวมีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของทารกในครรภ์
ตาปิด
อวัยวะเพศภายนอกทั้งชายและหญิงจะ
คล้ายกันจนถึงประมาณ week 9
ทารกตอบสนองต่อการกระตุ้น แต่แม่ยังไม่รู้สึก
13th - 16 th week
พบ Skeletal ossification ใน week 16
17th - 20th week
ทารกเคลื่อนไหว แม่จะรู้สึกได้
เริ่มหลั่ง sebaceous gland
vernix caseosa
ผิวหนังใส มันวาว
มีขนอ่อน
Brown fat
สร้างพลังงานความร้อน
21th - 25th week
ผิวหนังเหี่ยว สีแดงๆชมพู เห็นหลอดเลือด
ถ้าคลอด ทารกจะตายเพราระบบหายใจยังไม่พัฒนา
26th - 29th week
ตาเปิด
White fat
ถ้าคลอด ยังมีชีวิตอยู่ได้
30th - 34th week
ผิวหนังเรียบตึง สีชมพู
35th - 38th week
อวัยวะสมบูรณ์
Factors influencing growth and metabolism
Amino acids and glucose
แหล่งพลังงาน
Insulin
กระตุ้นการเจริญเติบโตของทารก
ส่งผลให้ทารกโตช้า ตัวเล็ก
Maternal malnutrition
Smoking
Multiple pregnancies
Impaired uteroplacental blood flow
Placental dysfunction
Genetic factors
การประเมินสภาวะของการตั้งครรภ์
Ultrasonography
ดูขนาด ตำแหน่งของทารกและถุงน้ำคร่ำ
Amniocentesis
การใช้เข็มเจาะดูดน้ำคร่ำ
Chorionic villus sampling
Transabdominal
Transcervical
Gestation periods: 3 trimesters
อ้างอิง : Human Embryology (ผศ.ดร.ณัฐธิยา สกุลศักดิ์)