Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่5 เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่5
เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสาร
:recycle:
ความหมาย
กระบวนการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความคิดระหว่างบุคคลโดยผ่านสื่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเกิดการตอบสนองระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
:recycle:
ความสำคัญ
1.ทำให้เกิดความเข้าใจ
2.ช่วยในการคาดคะเนความคิดของกันได้
3.บทบาทในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
ด้านชีวิตประจำวัน
ด้านสังคม
ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านการเมืองระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์และประเภทการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
:star:
วัตถุประสงค์
1.เพื่อแจ้งให้ทราบ
2.เพื่อสอนหรือให้การศึกษา
3.เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง
4.เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไปตามต้องการ
5.เพื่อสังคม
:star:
ประเภทของการสื่อสาร
1.จำแนกตามการไหลเวียนของข่าวสาร
การสื่อสารทางเดียว
การสื่อสารสองทาง
2.จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
การสื่อสารเชิงวัจนภาษา
การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา
3.จำแนกตามจำนวนที่สื่อสาร
การสื่อสารภายใน
การสื่อสารระหว่างบุคคล
การสื่อสารภายในกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง
การสื่อสารระหว่างกลุ่มคนจำนวนมาก
การสื่อสารมวลชน
องค์ประกอบของการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
:mens:
แนวคิดของอริสโตเติ้ล
Ethos
Pathos
Logos
:mens:
แนวคิดของลาสเวลส์
ใคร
กล่าวอะไร
ช่องทางใด
ถึงใคร
ผลอะไร
:mens:
แนวคิดของแชนนันและวีเวอร์
Source
Message
Transmitter
Receiver
Destination
:mens:
แนวคิดของเบอร์โล
Source
Message
Chanel
Receiver
แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาที่เน้นความต้องการขั้นพื้นฐานและทฤษฏีการพัฒนาแบบยั่งยืน
:check:
ทฤษฏีการพัฒนาที่เน้นความต้องการขั้นพื้นฐาน
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
เน้นการพัฒนาไปที่ตัวคนโดยเฉพาะกลุ่มคนยากจนเป็นหลัก
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
คำนึงถึงการตอบสนองต่อความจำเป็นพื้นฐานในชีวิต
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
ความต้องการขั้นต่ำของแต่ละครอบครัว(ปัจจัย4)
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
ความสามารถในการเข้าถึงบริการพื้นฐาานต่างๆ
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
การมีแหล่งงานสำหรับทุกคน
:diamond_shape_with_a_dot_inside:
การตอบสนองสิทธิขั้นพื้นฐาน
:check:
ทฤษฏีการพัฒนาแบบยั่งยืน
ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยมิติความยั่งยืนทั้งสามด้าน
ด้านสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสิ่งแวดล้อม
แนวทางการคงภาวะความสมดุลของทั้งสามมิติ
1.กำหนดระดับจำนวนประชากร
2.รักษาและแสวงหาแหล่งทรัพยากรที่ทดแทนได้
3.การคิดค้นเทคโนดลยีใหม่ๆที่ช่วยประหยัดหรือเพื่อนำมาใช้แทนที่แหล่งทรัพยากรที่ทดแทนไม่ได้หรือหายาก
การสื่อสารเพื่อการเผยแพร่นวัตกรรม
องค์ประกอบของการเผยแพร่นวัตกรรม
1.แนวความคิด หรือข้อปฏิบัติวัตถุใหม่
2.ซึ่งส่งผ่านสื่อการติดต่อ
3.ในช่วงเวลาหนึ่ง
4.ไปยังสมาชิกในสังคม
กระบวนการรับนวัตกรรม
1.ขั้นรับรู้
2.ขั้นสนใจ
3.ขั้นไตร่ตรอง
4.ขั้นทดลองทำ
5.ขั้นยอมรับนำปฏิบัติ
กระบวนการตัดสินใจรับนวัตกรรม
1.ขั้นหาความรู้
การรู้จักนวัตกรรม
ความรู้ในวิธีการใช้นวัตกรรม
ความรู้เกี่ยวกับหลักการ
2.ขั้นโน้มน้าวใจ
ทัศนคติเฉพาะที่มีต่อนวัตกรรม
ทัศนคติทั่วไปที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
3.การตัดสินใจ
การยอมรับนวัตกรรม
จำแนกกลุ่มผู้รับนวัตกรรมออกเป็น 5 กลุ่ม
1.รับสิ่งใหม่ก่อนคนอื่น 2.5%
2.รับสิ่งใหม่เร็ว 13.5%
3.รับสิ่งใหม่ส่วนมาก 34%
4.รับล้าช้าส่วนมาก 34%
5.ล้าหลัง 16%
การปฏิเสธนวัตกรรม
4.ขั้นการนำนวัตกรรมไปใช้
5.ขั้นยืนยัน
การพัฒนาแบบพึ่งพาและการมีส่วนร่วมทางการสื่อสาร
การพัฒนาแบบพึ่งพิง
ระดับบุคล
ความทันสมัย
ระดับบสังคม
การพัฒนา
การมีส่วนร่วมทางการสื่อสารเพื่อพัฒนา
เทคนิคและวิธีการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
บุคคลเป้าหมายในการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
:silhouette:
บุคคลและกลุ่มเป้าหมายในกระบวนการติดต่อสื่อสาร
1.เกษตรยังชีพหรือเกษตรกรพอกินพอใช้
2.เกษตรเชิงธุรกิจหรือเกษตรเชิงการค้า
1.ผู้นำเป็นทางการ
2.ผู้นำที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจหรือเป็นชนชั้นสูง
3.ผู้นำที่เป็นชาวบ้านระดับรากหญ้า
:silhouette:
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรับสื่อของบุคคลเป้าหมาย
สภาพแวดล้อมภายใน
1.ความสามารถในการรับรู้
2.ระดับการศึกษา
3.จิตใจ
สภาพแวดล้อมภายนอก
1.สภาพทางสังคมของกลุ่มเป้าหมาย
2.สถานภาพทางกายภาพ
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามช่องทางการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
:books:
หลักทั่วไปในการพิจรณาเลือกสื่อ ของ "ดิเรก ฤกษ์หร่าย"
1.ต้องเข้าใจสื่อที่จะใช้สื่อสาร
2.การใช้วิธีการมากว่า2วิธี
3.การใช้สื่อกลางในการติดต่อ
4.งบประมาณที่ใช้
5.ระยะเวลาที่หวังผลสำเร็จ
6.ขนาดและความหนาแน่นของกลุ่มเป้าหมาย
:books:
ข้อควรพิจรณาการคัดเลือกและการใช้สื่อ "ลีแกนส์"
1.วัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร
2.ลักษณะเนื้อหาของสาร
3.การใช้สื่อรวมกันหลายชนิด
4.ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่าย
5.เวลาที่จะมีให้ ผู้ส่ง - ผู้รับ
6.ขนาดหรือปริมาณบุคลเป้าหมาย
7.สื่อที่จะเข้าถึงบุคคลเป้าหมาย
8.ความรู้ของบุคลเป้าหมาย
9.ผลดีโดยรวมที่มีผลต่อการสื่อสาร
10.โอกาสของบุคคลเป้าหมายในการสัมผัสสาร
:books:
ข้อจำกัดในการเลือกช่องทาง/สื่อ
''เบอร์โล"
1.มีสื่ออะไรที่ใช้ได้บ้าง
2.มีงบเท่าไหร่
3.ผู้ส่งชอบสื่อใดมากที่สุดจะใช้ได้หรือไม่
4.สื่อใดเข้าถึงเป้าหมายได้ดีที่สุด
5.สื่อใดเหมาะสมและได้ผลที่สุด
6.สื่อใดสามารถนำมาปรับใช้ให้เข้ากับวัตถุประสงค์ที่สุด
:books:
คุณลักษณะพิเศษของสื่อ
1.สื่อสามารถจับยึดประสบการณ์ เหตุการณ์ กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นได้
2.สื่อสามารถดัดแปลงปรุงแต่งเพื่อทำให้สิ่งเข้าใจยากให้เข้าใจง่ายได้
3.สื่อสามารถขยายจ่ายแจกทำสำเนาหรือเผยแพร่ได้จำนวนมาก
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.การสอนหรือการบรรยาย
2.การพบปะพูดคุยและเยี่ยมเยียน
3.จดหมายข่าวจดหมายเวียน
4.จดหมายสอบถาม
5.แผ่นโฆษณา
6.การสาธิต
7.การจัดทัศนศึกษา
แบ่งตามลักษณะผู้ประกอบการ
แบ่งตามโครงสร้างผู้นำ