Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human embryo, สัปดาห์ที่ 17-20 อายุครรภ์ 5 เดือน, สัปดาห์ที่ 13-16 …
Human embryo
ฮอร์โมนจากการตั้งครรภ์
HPL (Human Placentral Lactrogen)
สร้างจาก syncytiotrophoblast
ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายไขมันและปล่อยออกมาในรูปของกรดไขมันอิสระ
Progesterone
สร้างจาก corpus luteum ในช่วง 10 wk แรกที่เหลือสร้างจากรก
ทำให้มดลูกอยู่ในสภาวะสงบ
กระตุ้นการพัฒนาของต่อมน้ำนม
hCG (human Chorionic Gonadotropin)
สร้างจาก syncytiotrophoblast
ทำหน้าที่ให้ corpus luteum ยังคงอยู่จนอายุครรภ์ได้ 10 wk
ประโยชน์ที่นำมาใช้
ทดสอบการตั้งครรภ์
วินิจฉัยครรภ์นอกมดลูก
ติดตาม gestational trophoblastic disease (GTD)
Estrogen
สร้างจากรกร่วมกับต่อมหมวกไตของทารก
Prenatal period
Embryonic period: 3 weeks – 8 weeks (2 months)
สัปดาห์ที่ 4
ตัวอ่อนโค้งเป็นรูปตัว C
ขา เเขน เริ่มงอกเป็นปุ่ม
ระบบสำคัญมีการเจริญ ระบบประสาท ระบบไหลเวียนเลือด
สร้างหูชั้นใน และเลนส์ตา
สัปดาห์ที่ 5
หัวเริ่มโต ขยาย
รูปร่างเปลี่ยนเล็กน้อย
สัปดาห์ 6
มีขนาด 22-24 mm
หัวใจใหญ่
เห็นนิ้วมือ นิ้วเท้า
หูชั้นนอกนูนขึ้นที่ข้างหัว
สัปดาห์ที่ 7-8
ตัวอ่อนยาวเกือบ 4 cm
โครงสร้างส่วนใหญ่สร้างสมบูรณ์ เข้าสู่ fetal period
สัปดาห์ที่ 3
ตัวอ่อนเจริญเป็นเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
เนื้อเยื่อที่จะโตเป็นส่วนก้นหนาตัวขึ้น
เกิดเนื้อเยื่อที่จะโตเป็นส่วนกลางไขสันหลัง เส้นประสาท และระบบประสาท
เกิดเนื้อเยื่อโตเป็นส่วนระบบทางเดินอาหาร
เริ่มเกิดระบบหลอดเลือด และหัวใจปลายสัปดาห์ที่ 3
ด้านที่โตเป็นหัวใจ จะเป็นด้านเดียวกับหัวตัวอ่อน
มีการพัฒนาหลอดเลือดในถุงน้ำคร้ำ หลอดเลือดทั้งหมดครบวงจร เจริญเป็นรก แลกเปลี่ยนของเสีย และสารอาหารผ่านหอดเลือดบริเวณสายสะดือ
Fetal period: 2 months – birth
สัปดาห์ที่ 21-25
อายุครรภ์ 6 เดือน
ผิวหนังบางใสมีหลอดเลือดมาเลี้ยงใต้ผิวหนัง เห็นผิวเป็นสีชมพู
สมองเจริญอย่างรวดเร็ว
รู้รสชาติต่างๆได้
ถ้าคลอดในระยะนี้ อาจะมีชีวิตอยู่ได้แต่ต้องได้รับการดูแลพิเศษเพราะระบบหายใจยังเจริญไม่เต็มที่
Germinal stage: first 2 weeks
The First Week
ได้ zygote
จากกระบวนการ Fertilization
Sperm ผ่านกระบวนการ
Capacitation และ Acrosome reaction
Sperm ผ่านได้ตัวเดียว ถ้าเกินผิดปกติ
Morula
-พ้นช่วง over ductไปรังไข่
-ยังมีขนาดเท่าเดิม แต่เซลข้างในอัดแน่น
Blastocyst
เริ่มฝังตัวในมดลูกแม่
“Implantation”
สัปดาห์ที่ 2
ชั้น bilaminer germ disc เเบ่งเป็น 2 ชั้น
Epiblast
Hypoblast
Trophoblast
Cytotrophoblast เหมือนกองหนุนช่วยกองหน้า
Syncytiotrophoblast เหมือน กองหน้า ล้ำพท. มดลูกก่อน
2 ช่องว่าง Cavities
Amniotic cavity
อนาคตเป็นถุงน้ำคล้ำ มี amniotic fluid
Yolk sac
เเหล่งอาหารสำคัญของตัวอ่อน และมีการสร้างเลือดด้วย
การประเมินสภาวะการตั้งครรภ์
Amniocentesis
การเจาะตรวจน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำที่ได้มีส่วนประกอบของเซลล์ทารกจึงสามารถนำมาตรวจวินิจฉัยโรคของทารกในครรภ์ได้
Ultrasonography
การตรวจอัลตราซาวด์
ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงผ่านทะลุเข้าสู่อวัยวะภายในเพื่อจับภาพอวัยวะหรือส่วนต่าง ๆ ภายในร่างกาย ใช้ในการตรวจดูทารกในครรภ์
Chorionic villus sampling
การตัดชิ้นเนื้อรก
เพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม เพราะเซลล์เนื้อรกและทารกมีต้นกำเนิดมาจากเซลล์เดียวกัน
สามารถตรวจได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 11-13 สัปดาห์
สัปดาห์ที่ 17-20
อายุครรภ์ 5 เดือน
มีการสร้างไขมันเคลือบผิว (vernix)
ถ้าลูกเตะแม่จะรู้สึก (Quickening)
อัลตราซาวด์แยกเพศได้
เริ่มขับถ่ายเป็นครั้งแรก
สัปดาห์ที่ 13-16
อายุครรภ์ 4 เดือน
ขยับตา ทั้งๆที่ตาปิดอยู่
มีการพัฒนาของตุ่มรับรส
ได้ยินเสียงภายนอก
มีการเคลื่อนไหวแต่แม่ไม่รู้สึก
สัปดาห์ที่ 26-29
อายุครรภ์ 7 เดือน
รูม่านตาเริ่มตอบสนองต่อแสง เปิดและปิดเปลือกตาได้
ปอดมีการสร้างสารลดแรงตึงผิว
ในเพศชายอัณฑะจะเริ่มเคลื่อนลงมาในสุงอัณฑะ
ขนอ่อนและผมพัฒนาเป็นอย่างดี
สัปดาห์ที่ 9-12
อายุครรภ์ 3 เดือน
อวัยวะครบ แต่ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์
เริ่มตอบสนองกับสิ่งเร้าภายนอก
หัวใจ ตับ ปอด ม้าม ลำไส้ กระเพาะอาหาร และอวัยวะเพศ เริ่มมีการพัฒนา
สมองเจริญใหญ่มากขนาดครึ่งหนึ่งของร่างกาย
สัปดาห์ที่ 30-34
อายุครรภ์ 8 เดือน
เล็บมือ เล็บเท้า และเส้นผมขึ้น
ทารกเริ่มผายลม
มีการสะสมของไขมันใต้ชั้นผิวหนัง
ทารกเริ่มกลับหัว
สัปดาห์ที่ 35 เป็นต้นไป
อายุครรภ์ 9 เดือน
กำมือได้แน่น
เพศชาย อัณฑะเคลื่อนลงมาอยู่ในถุงอัณฑะ
อวัยวะทุกส่วนของทารกสมบูรณ์
อ้างอิง
https://www.bumrungrad.com/th/treatments/chorionic-villus-sampling-cvs
https://medthai.com/การตรวจอัลตราซาวด์/
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/lessons/amniocentesis/
https://elnurse.ssru.ac.th/muntanavadee_ma/pluginfile.php/51/block_html/content/การเจริญเติบโต%20%28ครั้งที่%202%29.pptx?time=1651994170359
นางสาวกษิกา กีรติธาดา รหัสนิสิต64520221 เลขที่5
นางสาวจินตภา เชื้อนุ่น รหัสนิสิต64520627 เลขที่6