Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิตามิน เกลือแร่ สมุนไพร Antidote ยาเฉพาะที่, นางสาวภัชชญา โชชัญยะ ปี 2…
วิตามิน เกลือแร่ สมุนไพร
Antidote ยาเฉพาะที่
Vitamin
ความหมาย
ร่างกายไม่สามารถสร้างหรือสังเคราะห์
ไม่ให้พลังงานหรือสร้างเนื้อเยื่อ
เป็นสารอาหารรอง (Micronutrients)
ได้จากรับประทานอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้น
สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อชีวิตมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ตามปกติของร่างกาย
หน้าที่
เป็นปัจจัยในการควบคุมทางพันธุกรรม
เป็นCo enzyme/สารตั้งต้นในการสังเคราะห์
ป้องกันการเกิดออกซิเดชัน
Water-soluble vitamins
Vitamin B3 (Niacin)
เป็น coenzyme ใน oxidation-reduction NAD , NAPD
แหล่งที่พบ
ตับ เนื้อสัตว์ ข้าวโอ๊ต ถั่ว จมูกข้าว ยีสต์ ผักใบเขียว
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
ไม่ควรเกิน 35 มิลลิกรัม/วัน หากมากกว่า 2 กรัม/วัน ตับอาจได้รับความเสียหาย
หากขาดวิตามิน " Pellagra "
เกิดอาการอักเสบของลิ้นคันตามผิวหนัง อาหารไม่ย่อย ปลายประสาทอักเสบ ซึมเศร้า อ่อนเพลีย หงุดหงิด นอนไม่หลับ คุ้มคลั่ง ความจำเสื่อม
หากได้รับวิตามินเกิน
ตับอาจได้รับความเสียหาย
ประโยชน์
ช่วยลดกลิ่นปาก รักษาแผลร้อนในในช่องปาก
ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดได้ เพิ่มการไหลเวียน ลดความดัน
Vitamin B5 (Pantothenic acid)
เป็น coenzyme ในการสร้างและเผาผลาญไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเครต
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
5 มิลลิกรัม/วัน
หากขาดวิตามิน
ปวดท้อง ท้องอืด ตะคริว อ่อนเพลีย ซึมเศร้า นอนไม่หลับ แก่ก่อนวัย อาการเหน็บชาตามปลายมือปลายเท้า อาเจียน
หากได้รับวิตามินเกิน
อาจมีอาการท้องเสีย อาเจียน แสบร้อนกลางอก
ประโยชน์
ลดการเกิดสิว ฟื้นฟูสภาพผิว
ช่วยลดความเจ็บปวดจากโรคข้ออักเสบในผู้ป่วยบางรายได้
Vitamin B2 (Riboflavin)
เป็น coenzyme ใน oxidation-reduction , FMN , FAD
แหล่งที่พบ
ไข่ นม เครื่องในสัตว์ ตับ ผักใบเขียว โยเกิร์ต ข้าวโอ๊ต
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
ทารก 0.3 - 0.4 มิลลิกรัม/วัน
เด็ก 0.6 - 0.9 มิลลิกรัม/วัน
ผู้ชาย 1.3 มิลลิกรัม/วัน
สตรีมีครรภ์และให้นมบุตร 1 - 1.4 มิลลิกรัม/วัน
หากขาดวิตามิน
เกิดโรคปากนกกระจอก ร่องจมูก เปลือกตาจะมีการอักเสบและมีขุย
ประโยชน์
ช่วยรักษาโรคปากนกกระจอกหรือแผลบริเวณปากได้
ช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง
Vitamin B6 (Pyridoxine)
เป็น coenzyme ใน metabolism ของกรดอะมิโน สร้างสารสื่อประสาท GABA , dopamine , serotonin
แหล่งที่พบ
เนื้อสัตว์ ปลา ไก่ ตับ มันฝรั่ง กล้วย แตงโม นม ไข่แดงข้าวกล้อง รำข้าว จมูกข้าวสาลี ถั่วต่างๆ เมล็ดงา
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
1.3 - 1.7 มิลลิกรัม/วัน และไม่ควรเกิน 100 มิลลิกรัม/วัน
หากขาดวิตามิน
เกิดภาวะโลหิตจาง(ภาวะซีด) ปลายประสาทอักเสบ
หากได้รับวิตามินเกิน
อาจทำให้เส้นประสาทถูกทำลายและสูญเสียการรับรู้ของประสาทสัมผัส
ประโยชน์
ช่วยสร้างฦูมิต้านทาน แอนติบอดีและสร้างเซลล์โลหิตได้ดียิ่งขึ้น
ช่วยบรรเทาโรคที่เกิดจากระบบประสาทและผิวหนัง
Vitamin B1 (Thiamine)
แหล่งที่พบ
ข้าวกล้อง ถั่ว งา จมูกข้าวสาลี นมถั่วเหลือง เนื้อหมู เมล็ดทานตะวัน
เป็น coenzyme ที่สำคัญใน carbohydrate metabolism
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
1.2 มิลลิกรัม/วัน
สตรีมีครรภ์และให้นมบุตร 1.4 มิลลิกรัม/วัน
หากได้รับวิตามินเกิน
อาการง่วงนอน , กล้ามเนื้อคลายตัว
หากขาดวิตามิน
จะเกิดอาการเหน็บชา(beriberi)
ประโยชน์
ช่วยบำรุงสมองป้องกันภาวะความผิดปกติของระบบประสาท
ป้องกันโรคเหน็บชาจากการขาดวิตามินบี 1ในเด็ก
Vitamin B7 (Biotin)
เป็น coenzyme ของ carboxylase
แหล่งที่พบ
ดอกกะหล่ำ ถั่ว กล้วย ปลาแซลม่อน เนื้อสัตว์ ไข่ ตับ งา
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
30 ไมโครกรัม/วัน
หากขาดวิตามิน
เกิดโรคปากนกกระจอก ร่องจมูก เปลือกตาจะมีการอักเสบและมีขุย
ประโยชน์
ช่วยรักษาโรคปากนกกระจอก
เพิ่มประสิทธิภาพการมองเห็น
Vitamin B9 (Folic acid)
เป็น coenzyme สำคัญต่อการสังเคราะห์ DNA ในเซลล์ที่เจริญเติบโต เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง
แหล่งที่พบ
ถั่ว ผักโขม บรอกโคลี คะน้า ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ส้ม สตอเบอรี่ ธัญพืช ถั่วลิสง ตับ ผักกาดหอม
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
400 ไมโครกรัมและไม่ควรเกิน 1000 ไมโครกรัม/วัน
หากขาดวิตามิน
เกิดภาวะโลหิตจาง
หากได้รับวิตามินเกิน
อาจพบสิวขึ้นคล้ายลักษณะผื่นคันแต่เป็นไม่ทุกกรณีไป
ประโยชน์
ป้องกันการพิการของเด็กเเรกเกิด
ช่วยลดความเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจ
Vitamin B12 (Cobalamin)
เป็น coenzyme สำคัญ รูปแบบการทำงานคือ Methylcobalmine ร่วมกับ folic acid
แหล่งที่พบ
เนื้อสัตว์ เครื่องใน นม โยเกิร์ต ตับ ไข่
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
2.4 ไมโครกรัม/วัน และไม่ควรเกิน 100 มิลลิกรัม/วัน
หากได้รับวิตามินเกิน
เกิดโลหิตจาง(มีขนาดเม็ดเลือดแดงโตกว่าปกติ)
หากได้รับวิตามินเกิน
อาจพบสิวขึ้นคล้ายลักษณะผื่นคันแต่ไม่เป็นทุกกรณีไป
ประโยชน์
ช่วยให้เซลล์ประสาททำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นปกติ
รักษาโรคตาเสื่อมในผู้สูงอายุ
ช่วยปรับสภาพอารมณ์ให้อยู่ในภาวะปกติ
Vitamin C (Ascorbic acid)
เป็น coenzyme ใน oxidation-reduction หลายกระบวนการ
แหล่งที่พบ
ส้ม ฝรั่ง สัปปะรด พริก แตงโม มะนาว สตอเบอร์รี่ มะเขือเทศ มะละกอ
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ
90 มิลลิกรัม/วัน และไม่ควรเกิน 2,000 มิลลิกรัม/วัน
หากได้รับวิตามินเกิน
ทำให้ท้องเสีย ท้องอืด ท้องเฟ้อ
หากได้รับวิตามินเกิน
เลือดออกตามไรฟัน ปวดตามข้อ เจ็บกระดูก
ประโยชน์
ช่วยให้เลือดแข็งแรง
เพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็ก
มีส่วนช่วยในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ปกป้องเซลล์จากอนุมูลอิสระ คืนสภาพของรีดิวซ์วิตามิน E
การรับประทานควรดื่มน้ำตามมากๆ เพราะ ascorbic acid อาจตกตะกอนที่ไตได้
Fat-soluble vitamins
Vitamin D (Calciferol)
หากได้รับเกิน
เบื่ออาหาร เวียนศีรษะ อาเจียน ปวดข้อ กระสับกระส่าย เซื่องซึม
หากขาด
มวลกระดูกบาง กระดูกพรุนและหักง่าย
แหล่งที่พบ
แสงแดดช่วงเช้า น้ำมันปลา นม เห็ด หอยนางรม ปลาแซลมอน ปลาจากทะเล น้ำมันตับปลา ตับ เนย
ประโยชน์
รักษาระดับความดันเลือด
ป้องกันโรคมะเร็ง
ป้องกันและลดความเสี่ยงของการแตกหักของกระดูก
อาการพิษ
Hypercalcemia , ผนังหลอดเลือด(ความดันโลหิตสูง)
อาการขาด
โรคกระดูกอ่อนในเด็ก(rickets)
โรคกระดูกนิ่มในในผู้ใหญ่(osteomalacia)
Vitamin E (Tocopherol)
แหล่งที่พบ
ผักใบเขียว ถั่วเปลือกแข็ง เมล็ดทานตะวัน น้ำมันพืช ข้าวบาเลย์ อัลมอลล์
หากได้รับเกิน
อาจเพิ่มความเสี่ยงภาวะหัวใจล้มเหลว
หากขาด
ในเด็กทารกอาจทำให้โลหิตจาง การทำงานของระบบประสาทผิดปกติ
ประโยชน์
ขยายเส้นเลือด ต้านการแข็งตัวของเส้นเลือด
ป้องกันโรคเกี่ยวกัยสมองหรือโรคทางระบบประสาท
อาการพิษ
อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปวดศีรษะ
อาการขาด
เม็ดเลือดแดงแตกง่าย กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความเสียหายต่อระบบประสาท
Vitamin A (Retinoids)
ช่วยบำรุงสายตา แก้ข้อบกพร่องทางสายตา
แหล่งที่พบ
ผักและผลไม้ที่มีสีส้ม เหลือง เขียว เช่น ฟักทอง ข้าวโพด แครอท
หากได้รับเกิน
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว เสียสมดุลในการทำงานของกล้ามเนื้อ
ประโยชน์
ช่วยบำรุงสายตา แก้ข้อบกพร่องทางสายตาให้กลับมาเป็นปกติ
ช่วยในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูก
หากขาด
ที่ตา Xerophthalmia , night blindness
ที่ผิว แห้ง มีตุ่มแข็งที่รูขุมขน " follicular hyperkeratosis"
อาการพิษ
scaly dermatitis , ปวดท้อง ตับม้ามโต
Vitamin K
หากได้รับเกิน
เพิ่มการจับตัวของเกล็ดเลือด
หากขาด
เลือดออกง่าย เลือดไหลแล้วหยุดยาก
ประโยชน์
บรรเทาอาการประจำเดือน
อาการพิษ
อาจเกิด hemolysis , jaundice , kernicterus
การนำไปใช้ทางแพทย์
ยาต้านพิษจาก warfarin toxicity
Routine prophylaxis
แหล่งที่พบ
ใบบัวบก ผักโขม คะน้า กะหล่ำปลี ตับ ไข่ น้ำมันถั่วเหลือง
Herbs
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ขัดเบา
ตะไคร้ หญ้าหนวดแมว หญ้าคา กระเจี๊ยบแดง
โรคผิวหนัง
กลากเกลื้อน
กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ พลู
ชันนะตุ
มะคำดีควาย
แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ว่านหางจระเข้ มะพร้าว บัวบก
ฝี แผลพุพอง
ขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร ว่านหางจระเข้
แพ้ อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย
ขมิ้นชัน พญายอ
ลมพิษ
พลู
งูสวัด เริม
พญายอ
ระบบทางเดินหายใจ
ไอและระคายคอจากเสมหะ
ขิง ดีปลี มะขาม มะนาว
โรค/อาการเจ็บป่วยอื่นๆ
เคล็ด ขัด ยอก
ไพล
นอนไม่หลับ
ขี้เหล็ก
ไข้
ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด
หิด เหา
น้อยหน่า
ระบบทางเดินอาหาร
ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด
ขิง กระเทียม กะเพรา ตะไคร้
ท้องผูก
มะขาม ขี้เหล็ก
โรคกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชัน กล้วยน้ำว้า
ท้องเสีย
กล้วยน้ำว้า ฟ้าทะลายโจร
คลื่นไส้อาเจียน
ขิง กระเพรา ยอ
พยาธิลำไส้
มะขาม มะหาด มะเกลือ ฟักทอง
ปวดฟัน
แก้ว ข่อย ผักคราดหัวแหวน
เบื่ออาหาร
บอระเพ็ด ขี้เหล็ก มะระ สะเดา
ริดสีดวงทวาร
เพชรสังฆาต
Mineral
Micronutrients : Trace Elements
Mineral-I
(Iodine)
การขาด
Goiter(คอพอก) , Cretinism(เอ๋อ)
ภาวะเกิน
กดการทำงานของต่อมไทรอยด์
หน้าที่
องค์ประกอบของฮอร์โมนไทรอยด์
Mineral-Cu
(Copper)
จำเป็นใน electron transport system สร้างสารสื่อประสาท
สร้างเนื้อเยื่อ เกี่ยวพัน เม็ดสี และเป็น antioxidant
แหล่งที่พบ
ตับ หอยนางรม อาหารทะเล ผลไม้แห้ง มะม่วง ลูกพรุน หัวบีท
การขาด
มีผลต่อการเจริญเติบโต เกิดความผิดปกติของการสร้างเม็ดเลือดเเดง
Mineral-Se
(Selenium)
หน้าที่
จำเป็นต่อระบบภูมิคุ้มกัน ต่อมไทรอยด์ การสร้าง insulin
การขาด
การดูดซึมอาหารผิดปกติเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะเกิน
Selenosis คลื่นไส้ ปวดท้อง ผมร่วง เล็บผิดปกติ
Mineral-Mn
(Manganese)
หน้าที่
องค์ประกอบของกรดอะมิโน โปรตีน vitB1 biotin
การขาด
ไม่ค่อยพบ
ภาวะเกิน
ความผิดปกติของสมอง อารมณ์แปรปรวน
Mineral-fe
(Iron)
หน้าที่
ส่วนประกอบ Hemoglobin
การขาด
ซีด เหนื่อยง่าย โลหิตจาง
ภาวะเกิน
Iron overload ผิวคล้ำ ตับอักเสบ เบาหวาน
อาการไม่พึงประสงค์
ถ่ายดำ ท้องเสีย/ท้องผูก
Mineral-Cr
(Chromium)
เสริมสร้างการทำงานของ insulin
เพิ่มความไวของ insulin
Mineral-Zn
(Zinc)
หน้าที่
มีความสำคัญต่อระบบภูมิคุ้มกัน การหายของแผล การสร้างอสุจิ
การขาด
ในเด็กการเจริญเติบโต พัฒนาการทางเพศช้า
ในผู้ใหญ่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง แผลหายช้า
ภาวะเกิน
เบื่ออาหาร ภูมิคุ้มกันบกพร่อง อาเจียน ท้องเสีย
Macronutrients
Mineral - Major & Trace Element
แร่ธาตุหลัก(major minerals)
ร่างการต้องการและมีปริมาณสะสมในร่างกายสูง
Na , K , Ca , P , Mg ,S , Cl
แร่ธาตุรอง(trace minerals)
ร่างการต้องการและมีปริมาณสะสมในร่างกายน้อย
Fe , Zn , Se , l , Cu , Mn , F , Cr
Mineral - Na
เป็นไอออนบวกที่พบมากที่สุดในร่างกาย
หน้าที่
ควบคุมสมดุลน้ำ สมดุลไอออน
การขาด
ปวดเมื่อย ซึม เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ชัก ความดันต่ำ
ภาวะเกิน
ความดันสูง อ่อนเพลีย ซึม
Mineral - K
เป็นไอออนบวกที่พบมากที่สุดในเซลล์
หน้าที่
ขับออกทางปัสสาวะเพื่อเพิ่มการดูดกลับ Na
การขาด
Hypokalemia เรื้อรัง ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะเกิน
Hyperkalemia คลื่นไส้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หัวใจเต้นผิดจังหวะ/หยุดเต้น
Mineral - Ca
หน้าที่
ควบคุมการยืดหดกล้ามเนื้อ รักษาสมดุลกรด-ด่าง
การขาด
แคลเซียมในเลือดลดลงเฉียบพลันและเรื้อรัง
เป็นส่วนประกอบของกระดูก ฟัน
ภาวะเกิน
Hyperkalemia ท้องผูก นิ่วในไต ไตเสื่อม
Mineral - P
มีอยู่ในอาหารแปรรูปโดยเฉพาะน้ำอัดลม
มีความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างแคลเซียมและฟอสฟอรัส
ในซีรัมถูกควบคุมโดยฮอร์โมนพาราไทรอยด์
Mineral - Mg
แร่ธาตุที่พบมากสุดในโลก แร่ธาตุประจุบวก
การขาด
ยาขับปัสสาวะ ท้องเสีย พิษสุราเรื้อรัง
ภาวะเกิน
พบได้น้อย อ่อนเพลีย หยุดหายใจ K ต่ำ ท้องเสีย
Antidote
ซักประวัติ > ตรวจร่างกาย > อาจพิจารณาตรวจ lab (ตรวจหาสารเสพติด/ปริมาณยาในเลือด) , EKG > ระบบสารที่ทำให้เกิดพิษ > พิจารณาการรักษาเพื่อช่วยชีวิต > รักษาตามอาการเพื่อประคับประคอง > ป้องกันการเกิดพิษอีกในอนาคต
หลักการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษอย่างเฉียบพลัน
ป้องกันการดูดซึม
เร่งการขับถ่ายสารพิษ(ยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ)
วัดความดัน อัตราการหายใจ ชีพจร อุณหภูมิของร่างกายเพื่อรักษาอยู่ในสภาวะปกติ
ใช้ยาต่างๆช่วยขัดขวางการทำงานของสารพิษ
ใช้ยาแก้พิษที่เฉพาะเจาะจง
การล้างท้อง(Gastric lavage)
หลักการ
ใส่สายยางลงกระเพาะอาหารใส่น้ำเข้า&ดูดออก ภายใน 60 นาที หลังกินสารพิษหรือยาเกินขนาด
ข้อห้ามใช้
ซึม coma , สารกลุ่ม Hydrocarbons , ผู้มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
การสวนล้างตลอดลำไส้(Whole bowel irrigation , WBI)
หลักการ
ใช้สาร PEG ไม่ถูกดูดซึม ไม่ถูกย่อย ทำให้ชะล้างสารพิษที่อยู่ในลำไส้ตรงได้
ข้อห้ามใช้
ไม่มีรีเฟล็กการหายใจ ลำไส้อุดตัน อาเจียนตลอดเวลา
การจำแนกยาแก้พิษ 4 พวก
Mechanical antidote , Chemical antidote , Physiological antidote , Pharmacological antidote
Paracetamol
อาการทางคลินิก
24 - 48 ชม. จะดีขึ้น/ไม่มีอาการ
หลังจาก 48 : อาการทางตับ : ตัวเหลือง ตาเหลือง คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
24 ชม. แรก คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออก
การรักษา
ล้างท้อง+activated charcoal(ภายใน 1 ชม.) , ยาต้านพิษจะได้ผลภายใน 24 hr.
Opioids
พิษวิทยา
กดระบบประสาทและกดการหายใจ
อาการทางคลินิก
opiate overdose : coma
การรักษา
Naloxone : Intranasal 2 mg./0.4 mg.
ยาฆ่าแมลง
Organophosphate insecticide
malathion , parathion
Chlorinated hydrocarbon insecticide
DDT , Aldrin , Dieldrin , Chlordane
Carbamate insecticide
Aldicarb , Carbaryl(Sevin) , Methomyl
ยาเฉพาะที่
ความหมาย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งหมายใช้เฉพาะที่
ยาตา
ประเภท
ยาฆ่าเชื้อ ยาลดการบวม อักเสบ ยาบรรเทาอาการตาแห้ง รักษาต้อหินและต้อกระจก
รูปแบบ
ชนิดน้ำ หยดตาชนิดใส ขี้ผึ้งป้ายยา ยาฉีดเข้าใต้เยื่อบุตา
ยาหู
ประเภท
ยาต้านจุลชีพ ยาต้านเชื้อรา ยาระงับปวด ยาต้านอักเสบ ยาบรรเทาอาการคัน
ผลช้างเคียง
ototoxicity : อาจมีพิษต่อ cell ประสาทหูชั้นใน
อาการปวด : จากยาหยอดคุณสมบัติเป็นกรด
การแพ้ : อาจมีผื่นที่ผิวหนัง ช่องหูและใบหู
การติดเชื้อ : จากการใช้ยาต้านจุลชีพเป็นเวลานานๆ
ยาจมูก
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองจมูก เเสบร้อน ระคายเคืองเยื่อบุจมูกหลังพ่นยา
การรักษา
โรคภูมิแพ้ทางจมูก เยื่อบุจมูกอักเสบ ไซนัสอักเสบเรื้อรัง
ผิวหนัง
ลดการอักเสบ ลดการแพ้ ลดอาการคัน
ยากลุ่มสเตียรอยด์ : แตกต่างชนิด รูป
ยาต้าน histamine ชนิดทาภายนอก
ช่องคลอด
ยาสอดช่องคลอด
รักษาเอาการติดเชื้อบริเวณช่องคลอด
ยาทาเชื้อรา
รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อราบริเวณอวัยวะเพศหญิง
เจลทาบริเวณช่องคลอด
ภาวะช่องคลอดแห้ง : estrogen
ทวารหนัก
ยาเหน็บทวาร(Rectal Suppositories)
ใช้รักษาริดสีดวงทวาร ลดอาการปวด อักเสบ กระตุ้นระบายเมื่อท้องผูก เมื่อสอดแล้วจะละลายออกฤทธิ์เฉพาะที่
นางสาวภัชชญา โชชัญยะ ปี 2 เลขที่ 52 รหัสนักศึกษา 64126301053