Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พุทธทาสภิกขุศึกษา - Coggle Diagram
พุทธทาสภิกขุศึกษา
หลักธรรมคำสอนและการตีความของพุ่ะพพพทธทาสภิกขุ
ตัวกู-ของกู
อย่าสอนกันผิด ๆ ว่าความอยาก เป็นความต้องการแล้วจะต้องแยกให้ชัดเจนว่า ความต้องการนั้นมาจากอวิชชา หรือมาจากวิชชา
ธรรมะคือหน้าที่
ธรรมะคือความถูกต้องของวัตถุและจิต
รู้จักหน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ
รู้จักผลที่เกิดมาจากหน้าที่
รู้กฎของธรรมชาติ
รู้ว่า สิ่งที่ 3 คือหน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ คือ ตัวธรรมะ
รู้ธรรมชาติ
นิพพานชั่วขณะ
ความรู้สึกว่ามีตัวตนเป็นต้นเหตุแห่งความทุกข์
นิพพานคือการอยู่เหนือความเกิด แก่ เจ็บ ตาย โดยประการทั้งปวง
วิสังขาร เป็นจิตที่บรรลุถึงวิสังขารคือจิตที่ไม่มีสภาพใดมาปรุงแต่งจิตให้เกิดกิเลสได้
ความว่าง
การทำสมาธิใด ๆ ขอให้มีนิพพานเป็นจุดหมาย
จิตว่างจากตัวตน พระนิพพานก็มีอยู่ที่จิตนั้นแม้ชั่วคราว
สะอาด สว่าง สงบ
สะอาด-สว่าง-สงบ เป็นคุณลักษณะของพระอริยเจ้า
ภาวะเป็นหัวใจของพระรัตนไตรในพุทธศาสนา
ชีวประวัติของพุทธทาสภิกขุ
พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ)
เดิมชื่อ เงื่อมพานิช
เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449
โยมบิดาชื่อ นายเซี้ยง โยมมารดาชื่อ นางเคลื่อน
ท่านพุทธทาสภิกขุจึงถึงการมรณภาพที่สวนโมกข์ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2536 เวลา 11.20 น
หลักปณิธาน 3 ของพุทธทาสภิกขุ
คำว่า “ปณิธาน” หมายถึง การตั้งความปรารถนา
พุทธทาสภิกขุทุกคนถือเป็นหลักในการทำหน้าที่เพื่อประโยชน์แก่โลก
ทำความเข้าใจระหว่างศาสนา
ศาสนาที่มีพระเป็นเจ้าเป็นผู้สร้าง
ศาสนาที่เชื่อว่าไม่มีใครสร้าง
ถอนตัวออกจากอำนาจของวัตถุนิ
ความอร่อยวัตถุ 5 ประการ
อร่อยทางตา
อร่อยทางหู
อร่อยทางจมูก
อร่อยทางลิ้น
อร่อยทางผิวกาย
วัตถุนิยม
รู้จักแต่ความงามทางวัตถุ ไม่รู้จักความงามในทางจิตใจ
วัตถุเป็นเครื่องนำจิต
ความพอใจในความสะดวกสบายทางกาย
ความเจริญหรือการพัฒนาขึ้นอยู่กับวัตถุ
ลุ่มหลงรสอร่อยของวัตถุ
การมีวัตถุเป็นพระเจ้า
ทำตนให้เข้าถึงหัวใจแห่งศาสนาของตน
ปฏิบัติดี- ตรง - เป็นธรรม - สมควรแก่การหลุดพ้น
รับใช้ในการเผยแผ่พุทธศาสนาด้วยการ
ทำตัวอย่างในการปฏิบัติให้ดูมีความสุขให้ดูจนผู้อื่นพากันทำตาม