Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 5
เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
แนวคอดเกี่ยวกับการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.1 ความหมายและความสำคัญ
1.1.1 ความหมาย
กระบวนการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความคิดระหว่างบุคคลโดยผ่านสื่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเกิดการตอบสนองระหว่าง
ผู้ส่งสาร และผู้รับสาร ตรงตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1.1.2 ความสำคัญ
ความสำคัญในการแสดงบทบาทที่สำคัญ
(2) บทบาทที่ช่วยในการคาดคะเนความคิดของกันได้
(3) บทบาทในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
(1) บทบาทที่ทำให้เกิดความเข้าใจ
ความสำคัญสำหรับบุคคลและสังคม
(3) ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม
(4) ด้านการเมืองการปกครอง
(5) ด้านการเมืองระหว่างประเทศ
(2) ด้านสังคม
(1) ด้านชีวิตประจำวัน
1.2 วัตถุประสงค์และประเภทการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.2.1 วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
(3) เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง
(4) เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไปตามความต้องการ
(2) เพื่อสอนหรือการศึกษา
(5) เพื่อสังคม
(1) เพื่อแจ้งให้ทราบ
1.2.2 ประเภทของการสื่อสาร
(2) จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
(2.1) การสื่อสารเชิงวัจนภาษา คือ การใช้ภาษาพูด
หรือเขียนเป็นคำพูดในการสื่อสาร
(2.2) การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา คือ การใช้สัญญาณที่ไม่ใช่ภาษาพูดหรือเขียน เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้า สายตา น้ำเสียง เป็นต้น
(3) จำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร
(3.3) การสื่อสารภายในกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง
(3.4) การสื่อสารระหว่างกลุ่มคนจำนวนมาก
(3.5) การสื่อสารมวลชน เป็นการสื่อสาร
โดยส่งสารไปยังผู้รับสารผ่านสื่อมวลชน
(3.2) การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นการสื่อสารระหว่างคนสองคน
(3.1) การสื่อสารภายใน เป็นการสื่อสารส่วนบุคคลภายในตนเอง
(1) จำแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร
(1.1) การสื่อสารทางเดียว คือการสื่อสารข้อมุลถูกส่งจากผู้รับสารไปยังผู้รับสารในทิศทางเดียว ไม่มีการตอบโต้กลับจากผู้รับสาร
(1.2) การสื่อสารสองทาง คือ ผู้รับสารมีการตอบสนอง
ตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร
1.3 องค์ประกอบของการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.3.1 องค์ประกอบการสื่อสารตามแนวคิดของอริสโตเติล
หลักสำคัญ คือหลักปัจจัยแห่งการพูดที่สัมฤทธิผลของอริสโตเติล
สาระสำคัญ
(2) พานอส เป็นตัวกำหนดวิเคราะห์ผู้ฟัง
ผู้พูดต้องรู้สภาพอารมณ์ ทัศนคติของผู้ฟัง
(3) โลกอส เป็นการใช้เหตุผลในการพูด
(1) อีทอส หมายถึงลักษณะ
ความน่าเชื่อถือ บุคลิกผู้พูด
ส่วนสำคัญ 3 องค์ประกอบ
(2) คำพูด
(3) ผู้ฟัง
(1) ผู้พูด
1.3.2 องค์ประกอบการสื่อสารตามแนวคิดของลาสเวลส์
(1) ใคร หมายถึง ผู้ส่งสาร
(2) กล่าวอะไร หมายถึง สาร ข้อมูลข่าว
(3) ช่องทางใด หมายถึง ช่องทางการสื่อสารที่ใช้
(4) ถึงใคร หมายถึง ผู้รับสาร
(5) ผลอะไร หมายถึง การประเมินผล
1.3.3 องค์ประกอบการสื่อสารตามแนวคิดของแชนนัน และวีเวอร์
(3) เครื่องส่งหรือตัวถ่ายทอด
(4) ผู้รับหรือเครื่องรับสาร
(2) เนื้อหาข่าวสาร
(5) จุดหมายปลายทาง
(1) ผู้ส่งหรือแผล่งข้อมูล
1.3.4 องค์ประกอบการสื่อสารตามแนวของเบอร์โล
(2) ข่าวสาร
(3) ช่องทางในการส่ง
(1) ผู้ส่งสาร
(5) ผู้รับ
1.3.5 องค์ประกอบสื่อสารในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(5) การรับรู้ - ความสามารถในการเข้าใจในความรู้ ข้อมูล ที่นักส่งเสริมถ่ายทอดแก่เกษตรกร
(6) เกษตรกร - ผู้ที่ทำการเกษตรเป็นเป้าหมายหลักของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(4) ช่องทาง - เส้นทางการถ่ายทอดความรู้ไปสู่เกษตรกร
(7) สิ่งรบกวน - สิ่งรบกวนที่ทำให้การส่งสารและการรับรู้เกิดความผิดพลาด
(3) สื่อ - สิ่งที่บรรจุความรู้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อนำเสนอสู่เกษตรกร
(2) ความรู้หรือข่าวสาร - สิ่งที่เกษตรกรควรรู้ ความปฏิบัติ เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
(8) ประเมินผล - การเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(9) การจัดการความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(1) นักส่งเสริม - ผู้ให้บริการวิชาการท ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2.1 การพัฒนาที่เน้นความต้องการ
ขั้นพื้นฐานและทฤษฎีการพัฒนาแบบยั่งยืน
2.1.2 ทฤษฎีการพัฒนาแบบยั่งยืน
มิติยั่งยืน 3 ด้าน
(2) ด้านเศรษฐกิจ -มุ่งการตอบสนองความพึงพอใจ
ด้านความจำเป็นขั้นพื้นฐาน
(3) ด้านสิ่งแวดล้อม -เน้นอนุรักษ์ ป้องกันการทำลาย และนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าที่สุด
(1) ด้านสังคม -ยึดการพัฒนาตัวตนเป็นหลัก
แนวทางการคงระบบสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
(2) รักษาและแสวงหาแหล่งทรัพยากรที่ทดแทนได้
(1) กำหนดระดับจำนวนประชากร
(3) การค้นคิดเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ช่วยประหยัด
หรือเพื่อนำมาใช้แทนที่แหล่งทรัพยากรที่ทดแทน
2.1.1 ทฤษฎีการพัฒนาที่เน้นความต้องการขั้นพื้นฐาน
องค์การแรงงานสากล ระบุ ความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 4 ประเภท
(2) ความสามารถในการเข้าถึงบริการพื้นฐานต่างๆ ที่จำเป็น
(3) การมีแหล่งงานสำหรับทุกคนที่มีความสามารถและมีความตั้งใจที่จะทำงาน
(1) ความต้องการขั้นต่ำของแต่ละครอบครัวในด้านการบริโภค
(4) การตอบสนองสิทธิขั้นพื้นฐาน
2.2 การสื่อสารเพื่อการเผยแพร่นวัตกรรม
2.2.1 กระบวนการยอมรับนวัตกรรม
(3) ขั้นไตร่ตรอง คือบุคคลที่ใช้ความสามารถทางสมองเพื่อประเมินวิทยาการแผนใใหม่ให้เข้าสถานการณ์ของตน
(4) ขั้นทดลองทำ คือ การได้ลงมือทดลองทำดูเพียงบางส่วนในสถานการณ์จริง
(2) ขั้นสนใจ คือการที่บุคคลเกิดความสนใจที่จะศึกษาความรู้เกี่ยวกับวิทยาการใหม่ๆ
(5) ขั้นยอมรับนำปฏิบัติ
(1) ขั้นรับรู้ คือ การที่บุคคลรับรู้ว่ามีแนวคิด หรือวิทยาการใหม่ๆ แต่ยังไม่มีความรู้ที่ลึกซึ้งในเนื้อหาและรายละเอียดต่างๆ
2.2.2 กระบวนการตัดสินใจยอมรับนวัตกรรมของโรเจอร์ส
(2) ขั้นโน้มน้าวใจ
(2.1) ทัศนคติเฉพาะที่มีต่อนวัตกรรม
(2.2) ทัศนคติทั่วไปที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
(3) การตัดสินใจ
(3.1) การยอมรับนวัตกรรม
(3.2) การปฎิเสธนวัตกรรม
(1) ขั้นหาความรู้
(1.2) ความรู้ในวิธีการใช้นวัตกรรม
(1.3) ความรู้เกี่ยวกับหลักการ
(1.1) การรู้จักนวัตกรรม
(4) ขั้นการนำนวัตกรรมไปใช้
(5) ขั้นการยืนยัน
2.3 การพัฒนาแบบพึ่งพา และการมีส่วนร่วมทางการสื่อสาร
2.3.1 การพัฒนาแบบพึ่งพา
เรียกร้องให้มีการจัดระเบียบสารสนเทศและการสื่อสารของโลกใหม่ เพื่อความสมดุลและเป็นธรรม
เรียกร้องให้มีการปฏิรูปทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
2.3.2 การมีส่วนร่วมทางการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ทฤษฎีการมีส่วนร่วมทางการสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
มีขอบเขตกว้างขวางในระดับแนวตั้ง ระหว่างระดับบนและระดับล่าง และในระดับแนวนอน ระหว่างระดับบนหรือรพดับล่างด้วยกัน ประชาชนเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการสื่อสาร การเสริมสร้างอำนาจแก่ประชาชนโดนเฉพาะในระดับรากหญ้า จึงเป็นกระบวนการนำไปสู่สังคมแบบ ประชาสังคม อย่างแท้จริง การพัฒนาระบบประชาธิปไตยจึงต้องเน้นที่การสื่อสารกับประชาชน ในฐานะเป็น พลเมือง ของประเทศ มิใช่ผู้บริโภค โดยเปิดโอกาส
ให้เข้ามามีส่วนร่วมทุกขั้นตอนของการสื่อสาร
เทคนิคและวิธีการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.2 เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามช่องทางการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.2.3 คุณลักษณะพิเศษของสื่อ
(2) สื่อสามารถดัดแปลงปรุงแต่ง เพื่อทำสิ่งที่เข้าใจยากให้อยู่ในลักษณะที่ศึกษาเข้าใจได้ง่ายขึ้น
(3) สื่อสามารถขยายจ่ายแจก ทำสำเนา หรือเผยแพร่ได้จำนวนมาก
(1) สื่อสามารถจับยึดประสบการณ์ เหตุการณ์ กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
3.2.1 สื่อกับการพัฒนาตนเอง
(2) โทรทัศน์มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อหลัทฤษฎีและแนวคิด
(3) วัสดุ 3 มิติ มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการศึกษาจากของจริง
(1) ภาพเคลื่อนไหว และภาพยนต์ มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการศึกษาจากของจริง หลักทฤษฎีและแนวคิด และข้อมูลที่เป็นขั้นตอน
(4) การสาธิต มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อข้อมูลที่เป็นขั้นตอน
3.2.2 เทคนิค วิธีใช้ช่องทาง
หรือสื่อเพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายของการเรียนรู้
(2) หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายมีลักษณะของการเรียนรู้ที่จะคงไว้หรือมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติหรือเจตคติ จะต้องใช้ยุทธวิธีการเรียนรู้โดยประสบการณ์
(3) หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายเกิดทักษะจากการกระทำขึ้น
จะต้องใช้ยุทธวิธีการฝึกหัดในทักษะต่างๆที่ต้องการ
(1) หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายมีลักษณะของการเรียนรู้แบบได้รับความรู้ จะต้องใช้ยุทธวิธีการถ่ายทอดสารสนเทศจากภายนอก
3.1 บุคคลเป้าหมายในการสื่อสารในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
3.1.1 บุคคลและกลุ่มเป้าหมายในกระบวนการติดต่อสื่อสาร
ประเภทของบุคคลเป้าหมายรายบุคคล
(1) เกษตรยังชีพ หรือเกษตรพอกินพอใช้
(2) เกษตรเชิงธุรกิจหรือเกษตรเชิงการค้า
(2.1) ธุรกิจของครอบครัว
(2.2) บริษัทในประเทศและบริษัทข้ามชาติ
ประเภทของบุคคลเป้าหมาย
เป็นผู้นำตามโครงสร้าง ในชุมชนหนึ่งๆ
(1) ผู้นำที่เป็นทางการ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น ถือเป็นผู้นำตามโครงสร้างหน่วยงาน
(2) ผู้นำที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจหรือเป็นชนชั้นสุง ได้แก่ ผู้มีฐานะทางการเงินดี จัดเป็นผู้นำตามธรรมชาติ
(3) ผู้นำที่เป็นชาวบ้านระดับรากหญ้า คือชาวบ้านธรรมดา ถือเป็นผู้นำตามสถานการณ์
3.1.2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรับสื่อของบุคคลเป้าหมาย
(1) สภาพแวดล้อมภายใน คือตัวเกษตรกรเอง
(1.2) ระดับการศึกษา
(1.3) จิตใจ
(1.1) ความสามารถในการรับรู้
(2) สภาพแวดล้อมภายนอก
(2.2) สภาพทางเศรษฐกิจของบุคคลเป้าหมาย
(2.3) สถานภาพทางกายภาพ
(2.1) สภาพทางสังคมบุคคลเป้าหมาย-ส่วนใหญ่อยู่สังคมเกษตรในชนบท
3.3 เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามวิธีการในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
(2) การพบปะ พูดคุย และเยี่ยมเยียน
(1) การสอนหรือการบรรยาย
(4) จดหมายสอบถาม
(5) แผ่นโฆษณา
(3) จดหมายข่าว จดหมายเวียน
(6) การสาธิต
(6.3) ประเภทของการสาธิต
(6.4) หลักการสาธิต
(6.2) ข้อดีและข้อจำกัดของการสาธิต
(6.5) ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติในการสาธิต
(6.1) วัตถุประสงค์ของการสาธิต
(7) การจัดทัศนศึกษา
(7.2) บทบาทของผู้จัดและบุคคลเป้าหมายในการเตรียมจัดทัศนศึกษา
(7.3) ขั้นตอนในการจัดทัศนศึกษา
(7.3.1) ขั้นเตรียมการ
(7.3.2) ขั้นไปทัศนศึกษา
(7.3.3) ขั้นอภิปรายและประเมินผล
(7.1) ก่อนการใช้ทัศนศึกษาเป็นสื่อเพื่อการเผยแพร่สารสนเทศ