Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human embryology, fertilization, ที่มา https://www.freepik…
Human embryology
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการเผาผลาญ
Smoking
ลดอัตราการเจริญเติบโตของทารก
Multiple pregnancies
ทารกมีแนวโน้มตัวเล็ก
Maternal malnutrition
ลดการเจริญเติบโตของทารก
Impaired uteroplacental blood flow
ความต้องการอาหารและการเจริญเติบโตของทารกลดลง
Insulin
กระตุ้นการเจริญเติบโตของทารก
Placental dysfunction
การเจริญเติบโตลดลง
Amino acids and glucose
รับจากแม่ผ่านรก
Genetic factors
ทารกในครรภ์โตช้า
Fetal period
the 9th week to birth
week 9-12
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
อวัยวะเพศภายนอกของเพศชายและหญิงคล้ายกันจนถึง week 9
หัวมีขนาดครึ่งหนึ่งของทารก
week 35-38
อวัยวะทุกส่วนสมบูรณ์
ทารกจะคลอดใน week 38-40
week 17-20
แม่รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวในครรภ์
สร้างBrown fat ขึ้น(แหล่งผลิตความร้อนสำหรับทารกแรกเกิด)
week 26-29
CNS เจริญเต็มที่ สามารถควบคุมการหายใจและควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ตาเปิด
สามารถมีชีวิตรอดได้ถ้าคลอดก่อนกำหนด
week 13-16
เกิดกระบวนการสร้างกระดูกอย่างรวดเร็วเห็นได้ชัดจาการ x-ray ใน week16
ขายาวขึ้น
week 30-34
ผิวหนังเรียบเนียนอมชมพู
มี white fat ประมาณ 7-8%
week 21-25
ผิวหนังมีริ้วรอยแต่โปร่งแสงมาก
ผิวหนังมีสีชมพูแดง สามารถมองเห็นเส้นเลือดฝอยได้
ทารกที่คลอดในช่วงนี้จะเสียชีวิต เนื่องจากระบบทางเดินหายใจยังไม่สมบรูณ์
The fourth week
มีความยาว 4-5 mm.
Upper limb bud
Forebrain prominence
C-shape curvature
ฮอร์โมนจาการตั้งครรภ์
Progesterone
ทำให้มดลูกอยู่ในสภาวะสงบ
กระตุ้นการพัฒนาของต่อมน้ำนม
Estrogen
สร้างจากรกรวมกับต่อมหมวกไตของทารก
hCG(human Chorionic Gonadotropin)
ตรวจสอบการตั้งครรภ์นอกมดลูก
ติดตาม gestational trophoblastic disease (GTD)
ทดสอบการตั้งครรภ์
HPL(Human Placentral Lactrogen)
เคลื่อนย้ายไขมันแล้วปล่อยออกในรูปกรดไขมันอิสระ
3 stage
Fetal period
2เดือน-แรกเกิด
1.Germinal stage
2 สัปดาห์แรก
Embryonic period
2-8 สัปดาห์(2เดือน)
The second week
Bilaminar germ disc
Inner cell mass (embryoblast)
Trophoblast
Cytotrophoblast & Syncytiotrophoblast
Two cavities
Amniotic cavity & Yolk sac
The third week
แบ่งเนื้อเยื่อเป็น 3 ชั้น
Ectoderm
Mesoderm
Endoderm
มี notochord ซึ่งเจริญมาจาก epiblast
มี cardiogenic area อยูเหนือตอ prochordal plate
The fifth week
Enlargement of head
Growth of head
มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเล็กน้อย
การประเมินภาวะการตั้งครรภ์
Aminocentesis
การดูดน้ำคร่ำเพื่อตรวจสอบความผิดปกติ
Chorionic villus sampling
การตัดเนื้อเยื่อเล็กๆเพื่อตรวจสอบโครโมโซม
Ultrasonography
ทำเมื่ออายุครรภ์ 6 weeks จะเริ่มเจอความผิดปกติในช่อง 16-20 weeks
The sixth week
พบนิ้วมือนิ้วเท้า
หูส่วนนอกนูนขึ้นที่ด้านข้างของหัว
หัวใจมีขนาดใหญ่
2 ระยะ
Prenatal period
Postnatal period
The first week
Fertilization
มีโอกาสเกิดที่ Ampula ของ Oviduct สูงสุด
2 กระบวนการที่ sperm ต้องผ่านก่อน fertilization
conpaciation
มีการหลุดของ glycoprotein ที่หุ้ม acrosome
Acrosome reaction
acrosome หลั่ง enzyme ออกมาเพื่อย่อยเยื่อหุ้มเซลล์ไข่
Blastocyst
มีการสร้าง endometrium
fluid-filled structure ~ 60 cells
beginning to implant at the end of this stage
The 7th week-8th week
โครงสร้างส่วนใหญ่สร้างสมบรูณ์เข้าสู่ fetal period
ตัวอ่อนยาวเกือบ 4 cm
ที่มา
https://www.freepik.com/vectors/sperm-egg
ที่มา
https://www.researchgate.net/figure/Traditional-and-new-hypothesis-of-germ-layer-homology-Marker-gene-expression-at_fig3_342504827
ที่มา
https://www.shutterstock.com/th/image-vector/formation-branchial-pharyngeal-arches-fiweweekold-human-180856154
ที่มา
https://www.babycenter.com/pregnancy/week-by-week/5-weeks-pregnant
ที่มา:
https://www.invitra.com/en/six-weeks-pregnant/
ที่มา:
https://www.ehd.org/dev_article_unit8.php
ที่มา:
https://iastate.pressbooks.pub/parentingfamilydiversity/chapter/prenatal-development/
อ้างอิง: เอกสารประกอบการเรียน Human Embryology (ผศ.ดร.ณัฐธิยา สกุลศักดิ์)
อภิสิทธิ์ เมฆขุนทด เลขที่58
จิตโสภณ ใจผ่อง เลขที่59