Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของระบบประสาท, นางสาวภัชชญา โชชัญยะ ปี 2 เลขที่ 52 …
พยาธิสภาพของระบบประสาท
Neuron injury
Acute injury
Hemorrhage
Inflamation (IICP)
Trauma
Chronic injury
การเสื่อมของเซลล์ตามวัย
Sensory
Behavier change
Motor
สาเหตุ
ถูกทำลายด้วยกระบวนการอักเสบจากเซลล์ข้างเคียง
การเสื่อมของเซลล์ตามวัย
ตัวเซลล์ได้รับบาดเจ็บเอง (swelling)
เซลล์สมองขาดออกซิเจน (ischemic brain tissue)
ทำให้เกิด brain edema
brain necrosis (Brain infraction)
สมองเสียหน้าที่
ความผิดปกติของระบบประสาท
หน้าที่ของ CNS (Central nervous system)
Motor control functions
Sensory functions
Mood functions
Neuron injury
Mature neuron และ Myelin sheet
ไม่มีการสร้างใหม่ หากถูกทำลายจะเสียหน้าที่ถาวร
อาการและอาการแสดงของระบบประสาท
หน้าที่ของ CNS (Central nervous system) จะเปลี่ยนไป
Sensory functions
Mood functions , Conscious
Motor control functions
อาการและอาการแสดงของระบบประสาทที่พบบ่อย
สะอึก
ชัก หมดสติ
อ่อนเเรง
อาเจียนพุ่ง
ตาพร่า
ปวดศรีษะ
ลักษณะแสดงทางคลินิก
Loss of sensation
pupils size
impair vision
ataxia
aphasia
GCS score ลดลง
Severe headache , projected vomiting
Loss of neuron functions
Medulla
vital signs control area → sudden dead
Cerebrum
coordination impairment
Hemiparalysis
(ด้านตรงข้ามกับพยาธิสภาพ)
Transient Ischemic Attacks (TIA)
พยาธิสภาพ
เซลล์สมองขาดออกซิเจนเนื่องจากมีการอุดตันชั่วคราวของหลอดเลือดในสมอง
ลักษณะอาการแสดงทางคลินิก
เหมือนอาการเริ่มต้นของ stroke
แต่หายไปภายใน 24 hr.
ใช้หลักการ “F-A-S-T”
Arm(แขนขาอ่อนแรง)
Speech(พูดไม่ชัด เสียงเปลี่ยน)
Time(ใช้เวลาส่ง รพ. ให้เร็วที่สุด)
Face(หน้าหรือปากเบี้ยว)
golden period(ช่วงเวลาที่สามารถช่วยเหลือไม่ให้เกิดความพิการหรือตาย)
3 ชั่วโมงนับจาก Onset of symptoms (ขยายเวลาได้นานไม่เกิน 4.5 hours)
ความผิดปกติของสมดุลสมอง
สมองบวม ความดันเพิ่มในกะโหลก
ภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น
( Increase Intracranial Pressure, IICP)
แรงดันในสมองสูงจนเกิดอันตรายต่อเซลล์สมอง( > 15 mmHg)
แรงดันปกติในสมอง
10 - 20 cm.H2O , 5 -15 mmHg.
1 mmHg.= 1.36 cm.H2O
แรงดันภายในกะโหลกศีรษะ
brain tissue
brain blood
cerebrospinal fluid (CSF)
พยาธิสภาพ
ภายในกะโหลกศีรษะเป็นระบบปิด เมื่อมีแรงดันสูงขึ้นจะเกิดปฏิกิริยา
แรงสะท้อนกลับ
จากกะโหลกศีรษะกระจายสู่เซลล์สมอง
ทำให้เซลล์สมองได้รับบาดเจ็บ เกิด Brain Edema และ Brain Infraction
ลักษณะแสดงทางคลินิก
Loss of neuron functions
GCS ลดลง หมดสติ
Changed behavior
Confusion, Mental deterioration
Loss of vision
papilledema (optic disc edema)
diplopia , blurring
General symptoms
Headache, Vomiting
อาการ
หากเกิด IICP มากขึ้น
BP. สูง PP กว้าง > 50 mmHg.
หากเกิด IICP มากขึ้นอีก
BP. สูงขึ้น PP กว้างขึ้น
HR เพิ่มขึ้น RR. เพิ่ม
เกิด Cushing reflex
P. ช้าแต่แรง
R. ช้าหยุด , BP. สูง > 140
ผลจาก IICP
กดเนื้อสมอง Brain edema เพิ่ม IICP มากขึ้น
Brain Henia กด Cerebellum กด Medulla Oblongata(กดศูนย์หายใจ)
การประเมินความผิดปกติของ CNS
Glasgow Coma Scale (GCS)
คะแนนเต็ม 15 คะแนน (E4V5M6)
E = การลืมตา (Eye opening)
V = การตอบสนองต่อการเรียกหรือการพูด(verbal)
M = การเคลื่อนไหว (movement)
การประเมิน Cerebella Function
กำลังของกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อ
การทรงตัว
การประเมินเส้นประสาทสมอง(Cranial nerve: CN)12 คู่
Cranial nerve 3 rd: direct light reflex test
ประเมินปฏิกิริยาต่อแสงด้วยการวัดขนาดรูม่านตา(pupils size) ที่หดตัวเมื่อแสงผ่าน
การประเมินระดับความรู้สึกตัวด้วย GCS : E4V5M6
(Sensation , Perception , Response) พฤติกรรม
การประเมินความผิดปกติของเยื่อหุ้มสมอง(Meningeal)
Brudzinski ’s sign = positive
งอเข่าทั้งสองทันที เมื่อทำ stiff neck test
Stiff neck test = positive
ทำท่ายกคางชิดอกไม่ได้และปวดมาก
ประเมินการทำงานของกล้ามเนื้อ(Muscle Strength, MS)
MS Scale(คะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ Voluntary Muscle)
การประเมินปฏิกิริยาสะท้อนกลับ(Reflex)
DTR (Deep tendon reflex) scale
การแปลผล
Hyper-reflexia
พบใน Upper motor neuron lesion
Hypo - Areflexia
พบใน Lower motor neuron lesion
การวินิจฉัยเฉพาะ
ผลตรวจ CSF : พบ WBC หรือเชื้อจุลชีพ
CT scan , CTA , /MRI / MRA พบตำแหน่งเส้นเลือดมีการแตก
ภาวะแทรกซ้อน
Brain herniation , Brain death
สาเหตุ
การบวมของเนื้อเยื่อสมอง(Brain edema)
Trauma
Brain Ischemia
Encephalitis
ปริมาณเลือดในสมองเพิ่มสูงผิดปกติ
การระบายของ CSF ผิดปกติ
Meningitis
Brain Herniation
Hematoma
โพรงสมอง(Ventricle)
มี 4 ห้อง
Lateral V. 2 ห้อง
Third V.
Forth V. มี CSF. อยู่ใน Ventricle & Subarachnoid space 140 cc.
สร้างจาก
Choroid plexus
Na+
K+
Ca++
Glucose & Protein ต่ำกว่า Plasma
Br+
ความผิดปกติในการรับรู้(Alterations in cognitive system)
ระดับความรู้สึกตัว(level of consciousness)
Drowsiness (ง่วงซึม)
Lethargy (ซึมหลับ)
Agitate(วุ่นวาย)
Obtundation(ง่วงงัน)
Delirium(หลงลืม)
Confusion(Semi- conscious , Burr, disorientation สับสน)
Stupor (หลับลึก)
Full conscious(รู้สึกตัวดี)
Coma (Unconscious , หมดสติ)
สาเหตุ consciousness เปลี่ยน
เกิดจากความผิดปกติภายในสมอง
trauma
Infection
tumor
brain vessel
cerebral perfusion
เกิดจากความผิดปกติภายนอกสมอง
Nutritional encephalopathy (chronic alcoholism, thiamine deficiency)
electrolyte imbalance
Metabolic encephalopathy
ยาและสารพิษ
ภาวะแทรกซ้อน
Brain death (สมองตาย)
ลักษณะทางคลินิก
No response to pain
No respiration (PaCO2 > 60mmHg)
No reflex
Seizure & Epilepsy
ลำดับขั้นของอาการชัก
Prodrome > Aura > Attack > Post-seizure period
การวินิจฉัยเฉพาะ
MRI brain , EEG (electroencephalography)
ชนิดของโรคลมชัก
Partial epilepsy
Simple epilepsy : without loss of awareness
Complex epilepsy : lost awareness or diminished
Generalized epilepsy
Petit mal (absence) epilepsy
Grand mal (tonic-clonic) epilepsy
ภาวะแทรกซ้อน
Trauma , Brain infraction
สาเหตุ
ไม่อราบสาเหตุพบ 75%
มีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ 25%
structural brain disorders : ischemia, hemorrhage (13%)
developmental brain disorders ; injuries, tumor, inflammations
chemical and physical factors hypo-hyper osmolar state, Na/K pump ถูกทำลาย
hypoglycemia, uremia, toxic substances
metabolic amino acid disorders (เช่น ขาด GABA, vitamin B1 )
พยาธิสภาพ
เกิดเนื่องจากความไม่สมดุลของสารสื่อประสาท เช่น กลุ่ม GABA ลดลง
ภาวะชัก(มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อมากผิดปกติ)
seizures = convulsion , Epilepsy(โรคลมชัก) = การชักซ้ำๆ
Aphasia (Broca’s และ Sensory)
สาเหตุ
มีความผิดปกติของ Broca’s area or Wernicke’s (ส่วนใหญ่อยู่สมองซีกซ้าย)
Type of Aphasia
Broca’s area Aphasia > เข้าใจภาษา แต่พูดไม่ได้
Wernicke’s Aphasia > ไม่เข้าใจภาษา พูดได้แต่ไม่เข้าใจ
Gobal Aphasia > ไม่เข้าใจภาษา พูดไม่ได้
เป็นความบกพร่องทางการสื่อสาร/ภาษา
Alzheimer’s disease
สมองเสื่อม(dementia) ที่พบมากที่สุดในผู้สูงอายุ
พฤติกรรมเปลี่ยน : Depression, Anxiety, Emotional liability, Withdrawal
โรคของระบบประสาทส่วนกลางชนิดไม่มีการติดเชื้อ
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
ลักษณะทางคลินิค
สูญเสียความทรงจำ การพูดและการทำกิจวัตรประจำวัน(activities of daily living)
ระยะท้าย : Severe memory loss , Poor hygiene (grooming & Inappropriate dress , activities of daily living)
ระยะแรก ; recent memory loss , poor concentration
พยาธิสภาพ
มีการสะสมของ inflammation & free radicals ทำให้เกิดการสะสมของ ß-amyloid(neurotoxic)
พบที่ the basal nucleus of Meynert and hippocampus ซึ่งมี cholinergic neurons อยู่มาก
การเสื่อมทำให้หลั่ง Acetylcholine ลดลง (Ach levels ลดลงถึง 90% จากปกติ) มี norepinephrine และ Serotonin ลดลง
ความผิดปกติของระบบสั่งการกล้ามเนื้อ
(Alterations in Motor function)
A. Parkinsonism & EPS (Extrapyramidal syndrome)
ภาวะที่มีการเคลื่อนไหวของร่างกายผิดปกติ
พยาธิสภาพ
เกิดจากสารเสื่อประสาท Dopamine มีน้อยและ Ach มีมากกว่าปกติ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติ
Parkinsonism & EPS
(Extrapyramidal syndrome)
ลักษณะแสดงทางคลีนิค
EPS (extrapyramidal syndrome)
Resting tremor , Cogwheel rigidity , Bradykinesia
สาเหตุ
Vascular pseudoparkinsonism
จำนวน Dopamine cell ที่ Substantia Nigra เสื่อมตาย
Drug-induced parkinsonism
การวินิจฉัย
ไม่มีการวินิจฉัยเฉพาะ ใช้วินิจฉัยลักษณะทางคลินิกของ EPS
ภาวะแทรกซ้อน
Autonomic insufficiency (ANS, sensory, motor)
Neurologic deficits (Pyramidal, cerebellar, LMN signs)
มีการเกร็งของกล้ามเนื้อ(Hypertonia)
M 2 แขนเหยียดผิดปกติ(Decelerate = Extension )
M 1 ไม่เคลื่อนไหวเลย
M 3 แขนงอผิดปกติ (Decorticate = Flexion )
Hypotonia
Hypotonia = Paralysis
Hemiplegia , Paraplegia
สาเหตุ
Motor Center injury
Spinal Injury
Cerebro - spinal damage
ความผิดปกติของรอยต่อประสาทกล้ามเนื้อ : MG (myasthenia gravis)
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง(autoimmune disease)
พยาธิสภาพ
ร่างกายสร้าง Antibody ทำลายตัวรับ Acetylcholine ที่ motor end plate
มีผลให้เกิด voluntary muscle weakness และทำให้ muscle paralysis ในที่สุด
ร่างกายมี Achytylcholinesterase น้อย ทำให้ Receptor ไม่พร้อมรับ Ach.
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส , เนื้องอกของต่อมไทมัส
Myasthenia gravis
Signs & Symptoms
EENT , Voluntary Muscle , Respiratory
ภาวะแทรกซ้อน
Aspirated Pneumonia
respiratory failure
การวินิจฉัยเฉพาะ(การตรวจในห้องปฏิบัติการ)
Antibody to muscle-specific kinase (MuSK) test : positive
Anti-lipoprotein-related protein 4 (LRP4) antibody test : positive
Anti–striated muscle (anti-SM) Ab test : positive
Anti–acetylcholine receptor (AChR) antibody (Ab) test : positive
การตรวจพิเศษ
Edrophonium (Tensilon : acetylcholinesterase inhibitor) Testing : positive
Single fiber EMG (electromyography) : พบการไม่หดตัวของกล้ามเนื้อบางมัด
Guillain-Barre syndrome
ลักษณะทางคลีนิค
Hyporeflexia (decreased DTRs), dysphagia
Paresthesia (numbness), clumsiness
Blindness
Autonomic changes (Tachycardia, bradycardia, hypertension/orthostatic
hypotension, Increased sweating /salivation/ Constipation)
Weakness, paresthesia, pain, respiratory insufficiency
*
Weakness เริ่มจากขาขึ้นมาส่วนบนของตัว(Ascending Paralysis**)
การวินิจฉัยเฉพาะ
CSF: มีโปรตีน > 45 mg/dl, CSF pressure ปกติ
Nerve conduction slowing, Prolongation of the distal latencies, Prolongation of the F-waves
พยาธิสภาพ
autoimmune ทำลาย myelin ทำให้เกิดการอักเสบ มีผลให้กระแสประสาทส่งผ่านจาก axon เส้นนั้นไม่ได้ ทำให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว
สาเหตุ
Autoimmunity
ภาวะแทรกซ้อน
arrhythmias, Respiratory Failure
*
โรคปลอกประสาทแข็ง(Multiple sclerosis)
ลักษณะทางคลินิค
Paresthesias: weakness of lower limbs
sensory problems (diplopia, blurred vision, sensitivity to heat)
Charcot's Triad ได้แก่ nystagmus, intention tremor (motor weakness in coordination), scanning speech
vegetative problems - sphincter disorders
Depression
Spastic weakness พบบ่อยที่สุด
การวินิจฉัยเฉพาะ
การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยาพบ AQP4-IgG (Myelin antibody)
กรวดน้ำไขสันหลังพบเม็ดเลือดขาว
ยืนยันรอยโรคด้วย MRI และการตรวจจอประสาทตา
พยาธิสภาพ
ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อ Myelin sheet เกิดปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน Antigen-antibody complex reaction ทำให้เกิดการเสื่อมของ Myelin sheet
สาเหตุ
autoimmune (damage to myelin)
Viral infection (EB virus, herpes virus, Roseolavirus)
การบาดเจ็บของไขสันหลังและภาวะช็อค(Spinal shock)
ลักษณะทางคลินิก
PNS; ANS, reflex, motor, sensory ใต้ต่อบริเวณที่บาดเจ็บ เสียหน้าที่ แต่ระดับความรู้สึกตัวปกติ
ประเภทการบาดเจ็บของไขสันหลัง
Monoplegia , Paraplegia , Hemiplegia , Quadriplegia
สาเหตุ
Trauma , tumor , Multiple sclerosis (MS)
ระยะของโรค
ระยะแรกของโรค
vasodilation+ hypotension ทำให้ circulatory shock
incontinent vera (urinary + fecal)
flaccid, complete areflexia (no tendon or vegetative reflexes)
ระยะท้ายของโรค
Neurogenic shock เกิด hypotension, bradycardia
ไม่มีการขับเหงื่อ
พยาธิสภาพ
มีการบาดเจ็บของ spinal ทำให้ white gray matter มีเลือดออกและบวม
ความผิดปกติทางอารมณ์(Mood Disorders)
Schizophrenia
มีการกระตุ้นตัวรับโดพามีนมากเกินไป เกิด excess dopamine และมี serotonin + glutamate มากขึ้น เกิดความไม่สมดุลของการทำงานของสารสื่อประสาท
สาเหตุ
Genetic predisposition/ Viral infection/ drug/ environment
ลักษณะทางคลีนิก
Negative & positive symptoms, Audible thoughts / Voices arguing /
Voices commenting /Somatic passivity Thought/ Thought insertion
/Thought Delusional perception(คิดว่าตนเองอยู่ในเหตุการณ์นั้น)/ Delusion of control
การวินิจฉัยเฉพาะ
ประเมินอาการที่เกิด หากมีมากกว่าหนึ่งอาการนาน 1 เดือน
อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน disorganized speech
grossly disorganized behavior / catatonic behavior, flat affect/alogia /avolition, social/ occupational function
ภาวะแทรกซ้อน
suicide & murder
Depression (ภาวะซึมเศร้า)
สาเหตุ
Aging / stress / ผลข้างเคียงของยา
ลักษณะทางคลินิก
ลดความสนใจต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม เคลื่อนไหวช้าลง ปวดตามกล้ามเนื้อ มองโลกในแง่ลบและอยากฆ่าตัวตาย
การวินิจฉัยเฉพาะ
แบบทดสอบ DSM-IV (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders)
ภาวะแทรกซ้อน
Suicide
พยาธิสภาพ
เกิดจากสารสื่อประสาทกลุ่ม monoamine ได้แก่ NE, DA, 5-HT ทำงานไม่สมดุล ทำให้อารมณ์เปลี่ยนไปในทางหดหู่ ซึมเศร้า
ความผิดปกติของการรับรู้ความรู้สึก
การทำงานของระบบประสาทรับรู้สึก
Somatic Sensation
Temperature : Cold/Warm
Chemical
Touch/Pressure/Vibration
Pain
กลไกการเกิด
เกิดผ่าน Somatosensory system
สาเหตุ
เนื้อเยื่อได้รับอันตราย ( Injury and Truama )
การขาดเลือด (Ischemic)
การยืดของอวัยวะที่เป็ นโพรง (Distention)
ชนิดของความเจ็บปวด
ประเภทของการกระตุ้น
Nociceptive pain , Neuropathic pain
ลักษณะการเจ็บปวด
Dull P. /Sharp P. /Burn P. / Pulsation P. / Colicky P.
ตำแหน่งการเกิด
Cutaneous pain / Superficial P. , Deep pain , Visceral pain
ระยะเวลาที่เกิด
acute pain , chronic pain
การเคลื่อนที่ของการเกิด
local pain , referred pain
กลไกการรับรู้ความเจ็บปวด
Modulation
Perception (pain response)
Transmission
Transduction
ทฤษฎีประตูควบคุมความเจ็บปวด(Pain gate theory)
ใช้หลักการลด pain impulse จาก type A-delta fibers และ beta fibers ซึ่งเป็น Inhibitory fibers มีผลให้ pain impulse ส่งไปยัง CNS ลดลง
type A-alpha and beta fibers เกิด nerve impulse ได้โดยการสัมผัส
การตอบสนองของร่างกายต่อความเจ็บปวด
Acute pain
ANS: Reflex โดยการชักแขนขาหนีจากสิ่งเจ็บปวด
ลดการทำงานของ parasympathetic n. : ปัสสาวะคั่ง ท้องผูก
Chronic pain
ระบบฮอร์โมน ทำงานแทน ANS และ SNS
ระดับและคะแนนความเจ็บปวด
Moderate pain ปวดปานกลาง มีระดับความเจ็บปวดที่ 4-6
Severe pain ปวดรุนแรง มีระดับความเจ็บปวดที่ 7-10
Mild pain ปวดเล็กน้อย มีระดับความเจ็บปวดที่ 1-3
Special sensation
การมองเห็น
การรับรส
การรับกลิ่น
การได้ยิน
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ(Alterations in special sensory functions)
Ear: Tympanic membrane perforation
เยื่อแก้วหูทะลุ
สาเหตุ : Trauma เกิดการฉีกขาดจากแรงดันโดยตรงและเสียง
ลักษณะทางคลินิก : บวม แดง มีหนองไหล เยื่อแก้วหูทะลุ มีไข้ เสียการได้ยิน
การวินิจฉัยเฉพาะ : ตรวจร่างกายพบรูทะลุที่ tympanic membrane
: hearing test: audiogram ไม่ตอบสนองในข้างที่เป็น
ภาวะแทรกซ้อน : Media otitis , Deafness
Meniere’sdisease (vertigo)
เวียนศีรษะจากน้ำในหูไม่เท่ากัน
พยาธิสภาพ : มีการเสื่อมของ labyrinth (ทั้งส่วนโครงและเยื่อบุ)
สาเหตุ : aging/ drug
ลักษณะทางคลินิก : เวียนศีรษะบ้านหมุน การทรงตัวเสีย สูญเสียการได้ยิน หูอื้อ ปวดหู มักเป็นข้างเดียว
การวินิจฉัยเฉพาะ : Audiogram การได้ยินลดลงในข้างที่เกิดโรค
Glycerol test: (Glycerol เป็น hypertonic solution) audiometric score ลดลงในข้างที่เกิดโรค
Eye: Glaucoma ต้อหิน : โรคแรงดันภายในลูกตาสูง
ลักษณะทางคลีนิก : ปวดลูกตา ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน การมองเห็นลดลง เห็นสีรุ่งเมื่อมองไฟในเวลากลางคืน
การวินิจฉัยเฉพาะ : Tonometry; IOP > 16 mmHg,
: Ophthalmoscopy พบ cupping/pallor/ hemorrhage ที่ optic nerve
สาเหตุ : Aging /DM /eye trauma /การใช้ยากลุ่ม steroid นานๆ
ภาวะแทรกซ้อน : Blindness
พยาธิสภาพ : การไหลเวียนของน้ำภายในลูกตาอุดตัน เกิดแรงดันสูงในลูกตา (IOP: Increase Intraocular Pressure) กดเบียดจอประสาทตา (Retina) มีผลสูญเสียการมองเห็น
ต้อกระจก(Cataract)
พยาธิสภาพ : เลนส์ตาจับตัวก่อให้เกิดการสะสมของสารสีในเลนส์ มีผลให้เลนส์ตาเสื่อม
ลักษณะทางคลินิก : เริ่มจากมองไม่ชัดโดยเฉพาะที่สว่าง มองเห็นเกือบเป็นปกติในที่มืดสลัวๆ
สาเหตุ : aging, immunity, infection, eye trauma
ชนิดของต้อกระจก
Nuclear cataract - พบมากที่สุด , Cortical cataract , Subscapular cataract
การวินิจฉัยยืนยัน
Visual acuity test มีค่าลดลง (normal VA 20/20)
Slit-lamp examination พบเลนส์มีลักษณะขุ่น
Retinal exam (ophthalmoscope) พบเลนส์มีลักษณะขุ่น
Retinal detachment ,จอประสาทตาลอก
สาเหตุ : การเสื่อมของเรตินาจากอุบัติเหตุหรือโรคของเส้นเลือดหรือเรตินาเสื่อม
ลักษณะทางคลินิก : มองเห็นคล้ายแสงฟ้าแลบ/ตามัว/มองเห็นสิ่งต่างๆมีรูปร่างหรือขนาดผิดปกติ (metamorphopsia) ลานสายตาลดลง
พยาธิสภาพ : nervous part ของเรตินาหลุดลอกออกจาก pigment
epithelium layer เนื่องจากมีการฉีกขาดของเรตินา
การวินิจฉัยเฉพาะ : Ophthalmoscopy
เรตินาบริเวณที่เกิดการหลุดลอกมีลักษณะทึบหรือขุ่นขาว เส้นเลือดมีลักษณะคดเคี้ยวและสีเข้มกว่าปกติและเห็น fold ที่เรตินา
Retinopathy & Diabetic retinopathy
สาเหตุ : Atherosclerosis ใน DM : DR (Diabetic Retinopathy)
ลักษณะทางคลินิก : Retinal Detachment การมองเห็นลดลง
พยาธิสภาพ : ความผิดปกติของเส้นเลือดที่เรตินา ทำให้เรตินาขาดเลือดมาเลี้ยงและปรับตัวสร้างเส้นเลือดใหม่ขึ้นภายในเรตินา แต่ยังก่อความเสื่อมต่อเนื่องจนทำให้เรตินาเสียหน้าที่ถาวร
การวินิจฉัยเฉพาะ : ตรวจ retina vessel ด้วย opthamoscopy: พบเส้นเลือดใหม่และจุดเลือดออก
จอประสาทตาเสื่อม : จอประสาทตาเสียหน้าที่จากความผิดปกติของเส้นเลือด
ภาวะแทรกซ้อน : Blindness
นางสาวภัชชญา โชชัญยะ ปี 2 เลขที่ 52 รหัสนักศึกษา 64126301053