Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ - Coggle Diagram
หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ คือ การแสดงออกที่มีแบบแผน
ในการประพฤติปฏิบัติตนซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ทำให้สมาชิกในสังคมสามารถดำรงอยู่ร่วมกันได้อย่างดี โดยเฉพาะมารยาทชาวพุทธหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาเป็นกริยาวาจาที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติต่อกัน
มารยาทในการเดิน
1.ควรเดินอย่างสุภาพ ไหล่ตั้ง หลังตรง
2.มารยาทการเดินกับผู้ใหญ่ ควรเดินเยื้องไปทางซ้ายหลังผู้ใหญ่ห่างกันพอประมาณตามสภาพของสถานที่แต่ให้อยู่ในลักษณะนอบน้อม
3.การเดินผ่านผู้ใหญ่ ในกรณีไปทางซ้าย ให้เดินก้มหัวผ่านมากน้อย ตามอาวุโส ถ้าผู้ใหญ่ทักทาย ให้หยุดเดินยืนน้อมกายลงกายพูดด้วย เมื่อพูดจบแล้วไหว้ครั้งหนึ่งแล้วน้อมตัวเดินผ่านไป
มารยาทการแต่งกาย
การแต่งกายแสดงถึงขนมธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม แล้วยัง แสดงถึงอุปนิสัยใจคอ จิตใจ รสนิยม การศึกษาและฐานะของแต่ละ บุคคลได้เป็นอย่างดี การแต่งกายของผู้ที่อยู่ในสังคมจึงเป็นสิ่ง จําเป็นและมีหลักการสำคัญควรปฏิบัติ 2 อย่างดังนี้
ความสะอาด ต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษโดยเริ่มด้วยเครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อผ้า ถุงเท้า รองเท้า เครื่องประดับ กระเป๋าต้องมีความสะอาด ทั้งหมด
2.ความสุภาพเรียบร้อย คือ เครื่องแต่งกายต้องอยู่ในลักษณะที่เรียบร้อย ไม่รู้ มรามหรือรัดตัวจนเกินไปไม่ใส่สีฉูดฉาด ควรแต่งกายให้เข้ากับสังคม
ความถูกต้องกาลเทศะ เป็นเรื่องที่สำคัญมาก ต้องเอาใจใส่ การแต่งกายที่ถูกกาลเทศะ หมายถึง การเลือกแต่งกาย ให้ ถูกต้องเหมาะสมกับเวลายุคสมัยและสถานที่
มารยาทการยืน
1.การยืนตามลำพัง การยืนตามลำพังจะยืนแบบใดก็ได้แต่ควรอยู่ ในลักษณะที่สุภาพ สบาย โดยที่ส้นเท้าชิดกันปลายเท้าแยกเล็ก น้อยหรืออยู่ในท่าพัก
2.การยืนเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ การยืนต่อหน้าผู้ใหญ่ ยืนเสี่ยงไปทางใดทางหนึ่งทำได้ 2 วิธี
2.1 การยืนตรง ชาด ส้นเท้าชิด ปลายเท้าแยกห่างกัน เล็กน้อยมือ 2 ข้างแนบลำตัว
2.2 ยืนตรงค้อมส่วนบนตั้งแต่เอวขึ้นไปเล็กน้อย มือประสาน ไว้ด้านหน้า
มารยาทการไว้
การไหว้พระ
น้อมตัวลงให้ค่าพร้อมประนมมือขึ้น ให้ หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้วปลายนิ้วแนบหน้าผาก
การไหว้บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่เสมอกัน ประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับน้อมศีรษะลง ให้หัวแม่มีงจรดปลายคางปลายนิ้วแนบปลายจมูก
การไหว้ผู้อาวุโสหรือผู้ที่มีอายุมากกว่า น้อมตัวลงให้พร้อมประนมมือขึ้นให้หัวแม่มือ จรดปลายจมูกปลายนิ้วแนบระหว่างคิ้ว
มารยาทการกราบ
1.การกราบพระ ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูปหรือพระภิกษุ ใช้วิธีการแสคงความเคารพเหมือนกัน คือการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
การกราบ บิดา มารดา ครู อาจารย์
1.นั่งพับเพียบเก็บปลายเท้า
2.เบี่ยงตัวหมอบลง ให้เขาข้างหนึ่งอยู่ระหว่างแขนทั้งสองข้าง
3.วางแขนทั้ง 2 รายลงกับพื้นตลอดครึ่งแขน อ จากข้อศอกถึงมิอ
4.ประมือวางตั้งลงกับพื้น แล้วก้มศรีษะลงให้หน้าผากแตะสั้นมือ
5.ท่าครั้งเดียวไม่แบมือ แล้วทรงตัวขึ้นนั่ง
หน้าที่ชาวพุทธ
ชาวพุทธ มีหน้าที่มากมายหลายประการที่จะต้อง
ศึกษา รู้ปฏิบัติ เพื่อที่จะรำลึกถึงพระคุณของ
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์และ เพื่อทำนุบำรุงอุปถัมภ์
สืบทอดพระพุทธศาสนาให้ เจริญรุ่งเรืองตลอดไป
การบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
บรรพชา
หมายถึง การเว้นจากความโทษทุกอย่าง
อุปสมบท
หมายถึง การเข้าถึงสภาวะอันสูงสุด
ประเภทของการบรรพชาและอุปสมบท :
1.เอหิภิกขุอุปสัมปทา
2.ติสรณคมนูปสัมปทา
3.โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
4.ปัญหาพยากรณูสัมปทา
5.ครุธรรมปฏิคคหณูปสัปทา
6.ทูเตนอุปสัมปทา
7.อัฏฐวาติกาอุปสัมปทา
8.ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา
ประโยชน์ของการบรรพชาและอุปสมบท
1.เพื่อเรียนรู้พระธรรมวินัยฝึกฝนพัฒนาตนเอง
2.เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไป
3.เพื่อฝึกอบรมให้รู้จักอดทนอดกลั้น
4.เพื่อดำรงตนให้เป็นพลเมืองดีต่อสังคม
การบวชชี ธรรมจาริณีหรือเนกขัมมนารี
ชี หมายถึง สตรีผู้นุ่งงขาวห่มขาว โกนผม โกนคิ้ว
สมาทานและรักษาศีล8
ธรรมจาริณีหรือเนกขัมนารี หมายถึง สตรีที่นุ่งขาวห่มขาว
ไม่โกนผม ไม่โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล8
วิธีการบวช
1.ผู้บวชต้องแต่งกายชุดขาวพร้อมสะไบขาว
2.ตัวแทนผู้บวชถวายธูปเทียนแพแด่พระสงฆ์จำนวน1รูปหรือ4รูปขึ้นไป
3.กราบ3ครั้ง
4.กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
5.กล่าวคำอาราธนาศีล8
6.รับไตรสรณคมน์
7.สมาทานศีล8
8.นำเครื่องสักการะไปถวายพระอาจารย์ รับฟังโอวาท เป็นอันเสร็จพิธี
ประโยชน์ของการบวช
1.เพื่อฝึกฝนอบรมตน
3.เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศลให้ยิ่งๆขึ้นไป
3.เพื่อให้จิตใจสงบ ปราศจากความฟุ้งซ่าน
4.เพื่อปลดเปลื้องให้ตนพ้นจากความทุกข์
การเข้าค่ายพุทธธรรม
ค่ายพุธรรม คือค่ายที่จัขึ้นเพื่อฝึกอบรมส่งเสริมคุณธรรมให้กับนักเรียน
ประโยชน์ของการเข้าค่ายพุทธธรรม
1.ปลูกฝังนิสัยดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา
2.รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
3.รู้จักหลักธรรมและปฎิบัติตามหลักธรรมคำสอน
4.ได้ฝึกอบรมจิต ฝึกใช้ชีวิตครองตนถือเพศพรหมจรรย์
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
1.การมอบตัวกลับพระอาจารย์
2.ควรจัดในสถานที่ที่เหมาะสม เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร
พิธีการ ให้ผู้แสดงตน จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนา
พิธีกรรทางศาสนา คือ วิธีการประกอบพิธี
หรือวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ความสำคัญของการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
1.เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม
2.เป็นจุดนัดหมายให้ตั้งใจเริ่มต้นเตรียมตัวให้พร้อม
3.เป็นเครื่องควบคุมกาย วาจา และใจให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
4.เป็นอุบายที่ทำให้คนหมู่มากอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์และธรรมศึกษา
โดยได้ดำเนินการเปิดการสอนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่13 กรกฎาคม 2501 ที่มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ กรุงเทพมหานคร
การปลูกจและการมีส่วนร่วมในสังคม
สังคม หมายถึงการอยู่ร่วมกันของสมาชิกต้องมีการปฏิสัมพันธ์
สังคมพุทธ หมายถึงการอยู่ร่วมกันของสมาชิกประกอบด้วยพุทธบริษัท4 ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา