Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ - Coggle Diagram
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ คือ สิ่งที่ชาวพุทธทั่วไปต้องเรียนรู้ เพื่อที่จะได้ทราบและปฏิบัติตนได้ถูกต้องในที่นี้จะกล่าวถึงเรื่องการบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
การบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
การอุปสมบท แปลว่า การเข้าถึงสภาวะอันสูง หมายถึง การบวชเป็นภิกษุ
การบรรพชา แปลว่า การเว้นจากความชั่วทุกอย่าง เดิมแปลว่า การบวชเป็นภิกษุ
ประโยชน์ของการบรรพชาและอุปสมบท
2.เพื่อสืบทอดอายุพระศาสนาให้ยืนยาวต่อไป
3.เพื่อฝึกฝนอบรมห้รู้จักอดทน อดกลั้นในอดีตผู้ที่บวชเรียนแล้วจะเรียกว่า ‘ทิด’ ซึ่งมาจากจากคำว่า ‘บัณฑิต’
1.เพื่อเรียนรู้พระธรรมวินัย ฝึกฝนพัฒนาตนเอง ผู้บวชจะบวชจะต้องเรียนรู้พระธรรมวินัยควบคู่ไปกับการปฏิธรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า บวชเรียน
4.เพื่อดำรงตนให้เป็นพลเมืองดีของสังคม
ประเภทของการบรรพชาและอุปสมบท
7.อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา การบวชจากสงฆ์สองฝ่ายคือ ภิกษุ และภิกษุณี
1.เอหิภิกขุอุปสัมปทา การบวชที่พระพุทธเจ้าปะทานให้เองโดยการเปลล่งพระวาจาว่า จงเป็นภิกษุ มาเถิด ธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว ‘‘จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด’’
6.ทูเตนอุปสัมปทา การบวชด้วยทูต เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่นางคคณิกา ชื่อ อัฑฒกาลี
2.ติสรณคมนูปสัมปทา การบวชด้วยวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระสาวกทำในยุคต้นพุทธกาล เมื่อคณะสงฆ์ยังไม่เติบใหญ่ แต่ต่อมาใช้เป็นวิธีบวชสามเณร สามเณรี โดยให้ถือสรณะ ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึงระลึก
5.ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา การบวชด้วยการรับครุธรรม ๘ ประกร เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี
4.ปัญหาพยากรณูสัมปทา การบวชด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธเจ้า เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่โสปากสามเณร
3.โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา การบวชด้วยการรบโอวาท เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระมหากัสสปะ
8.ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมทา การบวชโดยคณะสงฆ์
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และธรรมศึกษา
ความเป็นมาของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในประเทศไทย เริ่มมาจากแนวคิดของพระพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) องค์สภานายกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลังจากได้เดินทางไปดูงานด้านพระพุทธศาสนาที่ประเทศพม่และศรีลังกา ได้พบเห็นการสอนพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์ในประเทศนั้นๆ และเห็นว่ามีผลดีมาก เมือเดินทางกลับมาประเทศไทย ได้นำแนวคิดร่วมกับผู้บริหาร เปลี่ยนชื่อจาก ‘โรงเรียน’ เป็น “ศูนย์การศึกษา”เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบทางราชการ จึงมีชื่อว่า “ศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์” และกำหนดให้ใช้อักษรย่อว่า “ศพอ”
วัตถุประสงค์
2.เพื่อส่งเสริมความรู้ และปลูกฝังศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้กับเด็กและเยาวชน
4.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนา
3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใกล้ชิดกับพระภิกษุและสามเณร
ธรรมศึกษา คือ การจัดการศึกษาพระพุทธศาสนาสำหรับคฤหัสถ์ แบ่งการเรียนเป็น 3 ระดับ คือ ธรรมศึกษาชั้นตรี โท และ เอก
วัตถุประสงค์
2.เพื่อให้คฤหัสถ์สามารถนำหลักธรรมมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิต
3.เพื่อความมั่นคงและแพร่หลายยิ่งๆขึ้นไปของพระพุทธศาสนา
1.เพื่อเปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนที่เป็นคฤหัสถ์มีโอกาสศึกษาพุทธประวัติประวัติพุทธสาวก พระธรรม พระวินัย พุทธศาสนสุภาษิต ศาสนพิธีอย่างถูกต้อง
4.เพื่อสร้างสังคมคุณภาพ รวมทั้งพัฒนาพระสงฆ์ให้มีความสามารถในการเผยแผ่หลักธรรม
การปลูกจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
สังคม คือ การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน และมีหน้าที่สร้างสมาชิกใหม่ ถ่ายทอดลักษณะของสังคม ประเพณี ความเชื่อ เพื่อสืบทอดให้สังคมนั้นๆดำรงต่อไป
สังคมพุทธ คือ การอยู่ร่วมกันของสมาชิป ซึ่งประกอบด้วยพุทธบริษัท 4 ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกกา
1.พระภิกษุ
2.คฤหัสถ์ หรือชาวบ้าน
2.ศึกษาคำสั่งสอน และปฏิบัติตามคำสอน
:
เมื่อเรียนเรื่องมงคลชีวิต ก็ต้องปฏิบัติตนให้เป็นมงคลอย่างมีสติ
เมื่อเรียนเรื่องความเชื่อที่ต้องมีปัญญากำกับ ก็จะต้องปฏิบัติติให้เชื่ออย่างมีเหตุผลโดยใช้ปัญญาพิารณา
เมื่อเรียนรู้กฎแห่งกรรม ก็ต้องละเว้นความชั่วทำความดี
เมื่อเรียนเรื่องความหลุดพ้นจากกิเลส ก็ต้องปฏบัติตนให้เป็นผู้หลุดพ้นตามแนวทางคำสอน
1.การบวช : วิธีหนึ่งของการสร้างสมาชิกให้กับสังคมพุทธ
4.ปกป้องและรักษาพระพุทธศาสนา
3.เผยแผ่คำสอน
การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครองและผู้ที่อยู่ในปกครองตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ
สำหรับผู้ปกครอง
3.รักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้
4.แจกของที่มีรสแปลกให้กิน
2.ให้อาหารและให้รางวัล
5.มีวันหยุดพักผ่อนตามโอกาสบ้าง
1.จัดการงานให้ทำตามสมควรแก่กำลังความสามารถ
สำหรับผู้อยู่ในการปกครอง
2.เลิกงานทีหลังนาย
3.ถือเอาแต่ของที่นายให้
1.เริ่มงานก่อนนาย
4.ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น
5.นำเกียรติคุณของนายไปเผยแพร่
การเข้าค่ายพุทธธรรม
ค่ายพุทธธรรม คือ ค่ายที่จัดชึ้นเพื่อฝึกอบรมส่งเสริมคุณธรรมให้กับนักเรียน
ประโยชน์ของการเข้าค่าย
2.รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
3.เรียนรู้หลักธรรมและปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน
1.ปลูกฝังนิสัยที่ดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา
4.ได้ฝึกอบรมจิก ฝึกใช้ชีวิตครองตนถือเพศพรหมจรรย์
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
2.สถานที่
3.พิธีการ
ขั้นตอนที่ 2 กล่าวคำปฏิญาณตน
ขั้นตอนที่ 3 ฟังคำโอวาทจากประธานสงฆ์ในพิธี
ขั้นตอนที่ 1 กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
ขั้นตอนที่ 4 ขอเผดียงสงฆ์
1.การมอบตัวกับพระอาจารย์
มารยาทชาวพุทธ
การเเสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคล
๒.๒การไหว้บิดามารดา(ขณะยืน)
๒.ให้ปลายนิ้วหัวเเม่มือจดปลายจมูก ค้อมศีรษะให้ปลายนิ้วชี้จดระหว่างคิ้ว
๓.ผู้ชายให้ยืนส้นเท้าชิด ปลายเท้าเเยกเล็กน้อย ค้อมเเต่ส่วนไหล่เเละศีรษะ ผู้หญิงก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าย่อตัวลงไหว้ ค้อมศีรษะต่ำรับปลายนิ้ว
๑.ยกมือที่ประนมขึ้นจดส่วนกลางของหน้า
๒.การไหว้
๒.๑ การไหวพระสงฆ์ (ขณะยืน)
๑.ยกมือที่ประนมขึ้นจดหน้าผาก
๒.ให้ปลายหัวเเม่มือจดระหว่างคิ้ว ค้อมศีรษะลงให้ปลายนิ้วชี้จดตีนผม เเนบมือ ให้ชิดหน้าผาก ค้อมตัวให้มาก
๓.ผู้ชาย ให้ยืนส้นเท้าชิด ปลายเท้าเเยกเล็กน้อย ผู้หญิงก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า เพื่อยันพื้นกันล้ม ย่อตัวค้อมศีรษะลงไหว้ ไหว้ตรงๆ ไม่เอียงซ้ายหรือขวา
ปูชนียบุคคล หมายถึง บุคคลที่ควรเเสคงความเคารพสักการะ ได้เเก่ พระภิกษุ บิดา มารดา ครู อาจารย์ ผู้ที่ควรเเสดงความเคารพทั่วๆไป วิธีเเสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลทำได้ดังนี้
๑การกราบพระ
๑.๑ การการพระ ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูป หรือพระภิกษุ ใช้วิธีเเสดงความเคารพ เหมือนกัน คือ กราบเเบบเบญจางคประดิษฐ์
๑.๒ การกราบบิดา มารดา ครู อาจารย์ ให้ปฏิบัติดังนี้
๑นั้งพับเพียบเก็บปลายเท้า
๒ เบี่ยงตัวเองหมอบลง ให้เข่าข้ใงหนึ่งอยู่ระหว่างเเขนทั้งสองข้าง
๓ วางเเขนทั้งสองราบลงกับพื้นตลอดครึ่งเเขน คือ จากศอกถึงมือ
๔ ประนบมือวางตั้งลงกับพื้นเเล้วก้มศีรษะลงให้หน้าผากเเตะสันมือ
๕ ทำครั้งเดียวไม่เเบมือ เเล้วทรงตัวขึ้นนั้ง
๒.๓ การไหว้ผู้ใหญ่
๒.๔การรับไหว้
ยกมือทั้งสองมาประนมไว้ที่อก เเลเวค้อมศีรษะให้ผู้ไหว้เล็กน้อย
ยกมือที่ประนมจดส่วนล่างของหน้า ให้ปลายหัวเเม่มือจดปลายคาง ให้นิ้วชี้จดจมูก ส่วนบน ก้มศรีษะรับปลายมีอให้พองาน
การเเสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
ปูชนียสถาน หมายถึง สถานที่อันควรเเสดงความเคารพสักการะ ซึ่งได้เเก่ ศาสนสถาน โบสถ์ วัด
การเเสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
การเเสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย หมายถึง พระพุทธ พระธรรม เเละพระสงฆ์
วีธีการเเสดงความเคารพพระรัตนตรัย คือ การกราบด้วยวิธีเบญจางคประดิษฐ์ เป็นการกราบด้วยให้อวัยวะทั้ง๕ส่วน จดกับพื้น คือ มือ ๒ เข่า๒ หน้าผาก๑
ขั้นตอนกราบพระรัตนตรัยมีดังนี้ ท่าเตรียม
ชาย นั้งท่าเทพบุตร เข่ายันพื้นห่างกันพอควร ปลายเท้าตั้งตั้งชิดกันนั้งทับส้นเท้า
หญิง นั้งท่าเทพธิดา เข่ายันพื้นในลักษะชิดกัน ปลายเท้าราบไปกับพื้น หงายฝ่าเท้านั้งทับส้นเท้า
จังหวะที่๑ :ประนมมือระหว่างอก (อัญชลี)
จังหวะที่๒: ยกมือที้ประนมขึ้นพร้อมกับก้มศีรษะลงเล็กน้อย นิ้วห้วเเม่มือจดกลางหน้าผาก(ปลายนิ้วชี้จะสูงกว่าศีรษะ)(วันทา)
จังหวะที่๓ การกราบ(อภิวาท)
การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร
การปฏิสันถาร หมายถึง การตอนรับเเขก การทัยทายปราศัย
ในสังคมไทยมีคำกล่าวว่า "เป็นธรรมเนียบไทยเเต่โบราณ ใคร
มาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ"
๑.อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่งของ เช่น เมื่อเเขกมาพบให้หาน้ำมารับรองก่อนเเลเวก้รับรองด้วยอาหารอื่นๆ ตามสมควร ในอดีตมีคำกล่าวทักทายกันติดปากว่า"ไปไหนมา กินข้าวหรือยัง มากินกันก่อน" เเสดงให้เห็นว่าคนไหทยให้ความสำคัญกะบการต้อนรับเเขกด้วยอาหาร มีความเอื้อเฟื้อเผื่อเเผ่ มีน้ำใจ
๒.ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยธรรม หมายถึง การต้อนรับที่ทำพอดีสมควรกับฐานะของเเขก เช่น ถ้าเเขกมาพบก็ต้องลุกขึ้นยืนตอนรับ ถ้าเเขกมีเรื่องเดือดร้อนใจมาขอคำปรึกษาก็ต้องเป็นผู้ฟัง เเละให้คำเเนะนำช่สยเเก้ปัญหาตามเเต่อัตภาพของตน
การปฏิสันถาร ถือเป็นมารยาทไทยที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกกับกาลเทศะ บุคคล สถานที่ อย่าให้ดูน้อยหรือมากจนเกินงามเเละเเสดงออกด้วยความเต็มใจ จริงใจ
การบวชเป็นชี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี
ชี หมายถึงสตรีผู้นุ่งขาวห่มขาว โกนผม โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล8
ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี หมายถึง สตรีที่นุ่งขาวห่มขาว ไม่โกนผม ไท่โกนคิ้ว สมานาทานและรักษาศีล
วิธีการบวช
4.กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
5.กล่าวคำอาราธนาศีล 8
3.กราบ 3 ครั้ง
6.รับไตรสรณคมน์
2.ตัวแทนผู้ขอบวชถวายธูปเทียนแพแด่พระสงฆ์จำนวน 1 รูป หรือ 4 รูปขึ้นไป
7.สมาทานศีล 8
1.ผู้ขอบวชต้องแต่งกายชุดขา พร้อมสไบขาว
8.นำเครื่องสักการะไปถวายพระอาจารย์ รับโอวาท เป็นอันเสร็จพิธี
ประโยชน์ของการบวช
2.เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศลให้ยิ่งๆขึ้นไป
3.เพื่อให้จิตสงบ ปราศจากความฟุ้งซ่าน
1.เพื่อฝึกฝนรบรมตน
4.เพื่อปลดเปลื้องตนให้พ้นจากความทุกข์
การเข้าร่วมพิธีกรรมทางพนะพุทธศาสนา
ความสำคัญ
1.เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม
2.เป็นจุดนัดหมายให้ตั้งใจเริ่มต้นเตรียมตัวให้พร้อม
3.เป็นเครื่องควบคุมกาย วาจา ใจ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
4.เป็นอุบายทีทำให้คนหมู่มากิบู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข
แนวทางในการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
1.เรียบง่าย
2.ไม่ฟุ่มเฟือย
3.ไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องมีพิธีรีตองมาก
4.ถูกต้องตาประเพณีนิยม
พิธีกรรมทางศาสนา คือ วิธีในการประกอบพิธีหรือกิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา