Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา
ระดับการวัด
(Level of Measurement)
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
อันตรภาค (Interval Scale)
นามบัญญัติ(Nominal Scale)
อัตราส่วน (Ratio Scale)
ความแตกต่าง (distinctiveness)
ตัวเลขที่กำหนดให้แต่ละคนมีค่าต่างกัน
ขนาดตามลำดับ (Ordering in magnitude)
ตัวเลขที่กำหนดสามารถชี้อันดับ
ของขนาดตัวเลขที่มากกว่า น้อยกว่า
ความเท่ากันของช่วง (Equal interval)
ตัวเลขที่กำหนดสามารถบอกความ
แตกต่างกับคุณสมบัติที่วัดเท่ากัน
ศูนย์สัมบูรณ์ (Absolute zero)
ตัวเลขที่กำหนดให้เป็นศูนย์
แสดงว่าไม่มีคุณลักษณะนั้นอยู่เลย
คะแนนและการตีความหมายของคะแนน
(Score and Interpretation of Score)
“คะแนนดิบ (Raw Score)” ยังไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนได้
คะแนนแปลงรูปเชิงพื้นที่ใต้โค้ง
คะแนนมาตรฐานทีปกติ
ตำเเหน่งเปอร์เซ็นไตล์
คะแนนแปลงรูปเชิงเส้นตรง
คะแนนที
คะแนนซี
การวัดการกระจาย
(Measure of Variation)
การหาค่าสถิติของข้อมูลว่า มี
ความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย
ค่าพิสัย
การตัดสินระดับผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียนแบบอิงเกณฑ์
การตัดสินผลการเรียนแบบอิงกลุ่ม
สถิติพื้นฐาน
(Basic Statistic)
การแจกแจงความถี่
การจัดทำข้อมูลให้ง่ายต่อการศึกษาเพื่อสะดวกในการหาค่าสถิติต่างๆ
การวัดเเนวโน้มสู่ส่วนกลาง
การหาค่าสถิติของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด
ค่าเฉลี่ย
ค่ามัธยฐาน
ค่าฐานนิยม
การวิเคราะห์ข้อสอบ
(Item Analysis)
การวิเคราะห์ข้อสอบก่อนการทดลองใช้
การวิเคราะห์ข้อสอบหลังการทดลองใช้
การวเิคราะห์ข้อสอบรายฉบับ
การแบ่งครึ่งแบบทดสอบ
การวัดความสอดคล้องภายใน
วิธีการของ Kuder – Richardson
วิธีการของ Conbach
การสอบซ้ำ
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์
การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ
ค่าความยาก
ดัชนีความไว
การวิเคราะห์ข้อสอบรายฉบับ
การหาความเชื่อมั่นแบบอิงเกณฑ์โดยใช้สหสัมพันธ์แบบ(phi Coefficient)
การหาความเชื่อมั่นเเบบอิงเกณฑ์ของ Livington
การศึกษาสารสนเทศของข้อสอบเพื่อ
นำไปใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขข้อสอบให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น