Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาทางจิตเวช, นางสาวทวีวรรณ ปราบพาลา 632111017 ปี 3 - Coggle Diagram
ยาทางจิตเวช
ยารักษาอาการทางจิต Antipsychotic drug
กลไกการออกฤทธื์ ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มเดิม (FGAs) จะออกฤทธิืในการรักษาโดยการยับยั้งการ ทำงานของ Dopamine D2
receptor ในสมองเป็นหลักประมาณ 60-80% โดยผลการออกฤทธิ์ของยาจะเป็นไปตาม dopamine pathway ได้แก่
Mesolimbic pathway เกียวข้องกับอาการทางจติด้านบวก (positive symptoms)
hallucination
delusion
Mesocortical pathway เกียวข้องกับอาการทางจิตด้านลบ (negative symptoms)
alogia
anhedonia
avolition
asociality
diminished emotional expression
อาการด้าน cognitive
Nigrostriatal pathway เกี่ยวข้องกับ การเกิดอาการข้างเคียง extrapyramidal
Tuberoinfundibular pathway ทําให้ prolactin หลั่งมากเกิด
gynecomastia
galactorrhea
Histamine H1
receptor
เจริญอาหาร
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ง่วงซึม
α1-adrenergic receptor
orthostatic hypotension
หลอดเลือดขยาย
Muscarinic M1 receptor ทำให้เกิด anticholinergic effects
ตาพร่า
ท้องผูก
มีน้ำลายน้อย
ปัสสาวะลำบาก
ส่วนยารักษาอาการทางจิตกลุ่มใหม่ (SGAs) จะออกฤทธิยับยั้ง serotonin receptor subtype
ลดอาการข้างเคียง extrapyramidal (EPS)
อาการทางจิตด้านลบและอาการด้าน cognitive ของผู้ปวยดีขึ้น
ข้อบ่งใช้
Tics and Tourette’s disorder
Aggression
Substance-induced psychotic disorder
Psychotic disorders due to a general medical condition
Mood disorder with psychotic features
Schizophrenia spectrum and other psychotic disorders
ชนิดของยา
ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มเดิม (FGAs)
Butyrophenone
Haloperidol
Diphenylbutylpiperidine
Pimozide
Thioxanthene
Zuclopentixol
Flupentixol
Phenothiazine
Perphenazine
Trifluoperazine
Thioridazine
Fluphenazine
Chlorpromazine
ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มใหม่ (SGAs)
Quetiapine
Ziprasidone
Olanzapine
Aripiprazole
Risperidone
Paliperidone
Clozapine
Amisulpride
Lurasidone
ยารักษาอาการทางจิตชนิดฉีด (Injectable antipsychotics)
ระยะปานกลาง
Zuclopenthixol acetate
ระยะยาว
Fluphenazine decanoate
Flupentixol decanoate
Haloperidol decanoate
Risperidol LAI
Paliperidone palmitate
Aripiprazole LAI
ระยะสั้น
Haloperidol
Chlorpromazine
ผลข้างเคียง
Extrapyramidal side effects (EPS)
Parkinsonism
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง มี cogwheel rigidity สั่น (tremor) เคลื่อนไหวช้า
(bradykinesia)
การรักษา
แนะนําใหัปรับลดขนาดลงหากสามารถทําได้ หรือเปลี่ยนยา
diphenhydramine 25 mg แบ่งรับประทาน 4 ครั้งต่อวัน
trihexyphenidyl 2-5 mg แบ่งรับประทาน 3 ครั้งต่อวัน
Acute dystonia
อาการบิดเกร็งอย่างทันที ลิ้นแข็ง พูดหรือกลืนลำบาก ตาเหลือก (oculogyric crisis) คอบิด (torticollis) หลังแอ่น (opisthotonos)
การักษา
diazepam 5-10 mg ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
diphenhydramine 25-50 mg ฉีดเข้า
หลอดเลอืดดำ
benztropine 1-2 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดดํา
diphenhydramine 25-50 mg ฉีดเข้า
หลอดเลือดดำ
Tardive dyskinesia
อาการสำคัญ ทีเรียกว่า buccolinguomasticatory triad คือ อาการดูด หรือขมุบขมิบปาก
การรักษา ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีอาการ tardive dyskinesia ลดลงร้อยละ 50 ในระยะเวลา 18 เดือนหลังหยุดยา อาจพิจารณาเปลี่ยนยาเป็น clozapine
Akathisia
การรักษา
propranolol วันละ 30-120 mg
ยากลุ่ม benzodiazepine เช่น diazepam วันละ 6-20 mg
กระวนกระวายใจ กระสับกระส่าย ไม่สามารถอยู่นิ่งได้ อาจต้องขยับแขน
ขา เดินไปมา หรือเคลื่อนไหวตลอดเวลา มักเกิดในช่วง 2-3 สัปดาหแ์รกของการได้รับยา
Neuroleptic Malignant Syndrome (NMS)
ภาวะนี้จัดเป็นภาวะฉุกเฉินซึ่ง อาจทำใหผู้ป่วยเสียชีวติได้มีอาการสำคัญ คือ muscle rigidity, hyperthermia และ autonomic instability และมักมี mental status change
การรักษา หากสงสัยภาวะดังกล่าว ควรหยุดยาทันทีและอาจให้รับประทานยากลุ่ม dopamine agonist เฝ้าระวังและป้องกันภาวะรุนแรงที่อาจเกิด ขึ้นได้ เช่น ไตวาย
ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant)
มีฤทธิ์ใินการยับยั้งการ reuptake ของสาร สือประสาทในสมองโดยเฉพาะ serotonin, norepinephrine และ dopamine
ข้อบ่งใช้
Panic disorder, Generalize anxiety disorder, Social anxiety disorder
Obsessive-compulsive disorder
Bipolar disorder, depressive episode
Posttraumatic stress disorder
Major depressive disorder, Persistent depressive disorder
Eating disorder โดยเฉพาะ bulimia nervosa
Enuresis
Neuropathic pain
ยาแกซึมเศร้าที่นิยมใช้ในประเทศไทย
Serotonin agonist and reuptake inhibitor (SARI)
5-HT2A receptor antagonist and
block the reuptake of 5-HT
Trazodone
Serotonin modulator and stimulator (SMS)
Block the reuptake of 5-HT, 5-HT1A receptor agonist, 5-HT3 and
5-HT7 receptor antagonist
Vortioxetine
Norepinephrine-Dopamine reuptake inhibitor (NDRI)
Block the reuptake of NE and DA
Bupropion
Monoamine oxidase inhibitor (MAOI)
Inhibit monoamine oxidase,resulting in increased concentrations of 5-HT, NE and DA
Moclobemide
Noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSA)
Mirtazapine
α2-adrenergic and 5-HT2A and5-HT2C receptor antagonist
Melatonin agonist
MT1 and MT2 receptor agonist, 5-HT2C receptor antagonist
Agomelatine
Serotonin Norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI)
Block the reuptake of 5-HT and NE
Venlafaxine / Desvenlafaxine / Duloxetine
Selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI)
Fluoxetine / Fluvoxamine / Sertraline / Paroxetine / Escitalopram
Block the reuptake of 5-HT
Tricyclic antidepressant (TCA)
Block the reuptake of NE and 5-HT
Amitriptyline / Nortriptyline / Imipramine / Clomipramine
ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย
Selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI)
Gastrointestinal effects พบอาการแน่นท้อง คลื่นไส้ ท้องเสียได้บ่อย
Sexual dysfunction เพศชายอาจเกิด erectile
dysfunction ส่วนเพศหญิงอาจเกิด anorgasmia
Neurocognitive effects fluoxetine จะพบผลข้างเคียงเรื่องนอนไม่หลับ มากที่สุด paroxetine พบผลข้างเคียงเรื่องง่วง ซึมได้บ่อยที่สุด
Serotonin syndrome จัดเป็นภาวะฉุกเฉิน ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตได้
ยาแก้ซึมเศร้ากลุ่มอื่นๆ
Venlafaxine พบผลข้างเคียงได้เหมือนกับยากลุ่ม SSRIs แต่ยาตัวนี้ในขนาดสูงอาจมีผลข้างเคียงเรื่อง ความดันโลหิตสูงได้
Mirtazapine และ Trazodone มีผลข้างเคียงเรื่อง งว่ง ซึมึ จึงนิยมให้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรืองนอนไม่หลับ
Bupropion ในขนาดสูง อาจเสี่ยงต่อการเกิดอาการชักได้
Vortioxetine อาจพบอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
Agomelatine อาจพบปัญหาเรื่อง hepatotoxicity ได้จึงควรเลี่ยงในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตับ
Tricyclic antidepressant (TCA)
Anticholinergic effects ได้แก่ มีน้ำลายน้อย ตาพร่า ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก
Cardiovascular effects ยาในกลุ่มนี้อาจส่งผลให้เกิด intraventricular
conduction delay, atrioventricular block และ QT prolongation ได้
ระวังการใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ควรเลี่ยงการ ใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจอยู่แล้ว นอกจากนี้ยาในกลุ่มนี้อาจส่งผลให้เกิด orthostatic hypotension ได้โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
Somnolence ควรระวังการใชยากลุ่มนี้ในผู้สูงอายุเนื่องจากผลข้างเคียงเรื่องง่วง ซึม อาจทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสหกล้มได้ง่าย
ยากลุ่มแอนตีโคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drug)
มีฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ acetylcholine ซึ่งในทางจิตเวช นิยมใช้ยาในกลุ่มนี้เพื่อรักษาผลข้างเคียงจากยารักษาอาการ ทางจิตเป็นหลัก โดยเฉพาะในกลุ่มอาการขัางเคียง extrapyramidal (EPS)
ข้อบ่งใช้
Neuroleptic-induced acute dystonia
Neuroleptic-induced parkinsonism
ชนิดของยา
Trihexyphenidyl 2-5 mg PO tid
Diphenhydramine 25 mg PO qid
25-50 mg IM, IV
Benztropine 1-2 mg IM, IV
ผลข้างเคียง อาการปากคอแห้ง ตาพร่า ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก ส่วนผลข้างเคียงรุนแรงที่อาจพบได้ในกรณีทีเกิดภาวะเป็นพิษได้แก่
delirium
coma
seizures
agitation
hallucinations
severe hypotension
supraventricular tachycardia
peripheral manifestations
ยากลุ่มเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepine)
ข้อบ่งใช้
Catatonia
Akathisia
Generalized anxiety disorder, Panic disorder, Social anxiety disorder
Alcohol withdrawal
Insomnia
ชนิดของยา
Clorazepate
Clonazepam
Diazepam
Alprazolam
Lorazepam
กลไกการออกฤทธิ์ ยากลุ่มเบนโซไดอะซีปีนออกฤทธิ์กระตุ้น การของทํางานของ gamma-aminobutyric acid (GABA) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาททีมีฤทธิ์ยับยั้งในสมอง (inhibitory neurotransmitter) โดย จับกับ GABAA receptor
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
ชนิดของยา
Valproate
ข้อบ่งใช้
Bipolar disorder
maintenance
acute depressive episode
rapid cycling
acute manic episode
mixed features
Schizoaffective disorder
ผลข้างเคียง
ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยของ valproate ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ง่วงซึม มือสั่น
ผลต่อตับและตับอ่อน ซึงเป็นผลข้างเคียงแบบ idiosyncratic โดยอาจทำให้เกิด
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของ histone deacetylase
ยับยั้ง phosphoinositol pathway
เพิ่ม gamma-aminobutyric acid (GABA) ที่ synapse ของเซลล์ประสาท
ลดการทํางานของ protein kinase C (PKC)
ยับยั้ง voltage-gated sodium
ยับยั้งเอนไซม์ glycogen synthase kinase-3 beta (GSK-3β)
Carbamazepine
ข้อบ่งใช้
Schizoaffective disorder
Neuropathic pain
Bipolar disorder
acute depressive episode
maintenance
rapid cycling
acute manic episode
mixed features
ผลข้างเคียง ผลข้างเคียงทีพบได้บ่อยของ carbamazepine ได้แก่ ง่วงซึม เวียนศรีษะ ตาพร่า
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งกระบวนการ kindling
ยับยั้งการทำงานของ voltage-gated sodium channels บรเิวณ presynaptic และบนเซลล์ประสาท ทำให้เกิดการยับยั้งกระบวนการ depolarization และการส่งผ่านของกระแสประสาท ทำให้ calcium channel ถูกยับยั้งไปด้วย ส่งผลให้การส่งผ่านกระแสประสาทลดลง
Lithium
กลไกการออกฤทธิ์
• ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ inositol monophosphate phosphatase (IMP)
• ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ glycogen synthase kinase-3 beta (GSK-3 β)
ข้อบ่งใช้
Schizoaffective disorder
Major depressive disorder (as an augmenting agent)
Bipolar disorder
Aggression
ผลข้างเคียง
ผลต่อการตังครรภ์ การได้รับ lithium ในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์อาจทําให้ทารกเกิด Ebstein’s anomaly ได้
ผลต่อไต ในรายที่ได้รับ lithium ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อาจทําให้เกิด interstitial fibrosis และอาจเกิดไตวายได้ในบางราย
ผลต่อระบบต่อมไรท่อ ซึงมักส่งผลเพียงชั่วคราว โดยส่วนใหญ่พบเป็น hypothyroidism นอกจากนี้ยังพบการเพิ่มสูงขึ้นของ thyroid-stimulating hormone (TSH)
ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ T wave แบบชั่วคราว โดยอาจเกิดเป็น T wave flattening
Lamotrigine
นางสาวทวีวรรณ ปราบพาลา 632111017 ปี 3