Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดด้วยยาทางจิตเวช - Coggle Diagram
การบำบัดด้วยยาทางจิตเวช
1) ยาต้านโรคจิต (antipsychotic drug or Major Tranquilizers)
ยากลุ่มเก่า (traditional or typical antipsychotics)
ผลที่ไม่พึงประสงค์หรือผลข้างเคียงของยา
ยาต*านโรคจิตส่งผลต่อการทำหน้าที่เกี่ยวกับการยับยั้งการหลั่งของฮอร์โมนโปรแลคทินของต่อมพิทูอิตารีทำ
ให้มีโปรแลคทินเพิ่มมากขึ้น
ยาต้านโรคจิตจะปิดกั้นการทำงานของตัวรับสัญญาณหลายตัว เช่น อะซิติลโคลีน นอรoอีพิเนฟฟãน
ฮีสตามีน ส่งผลให้เกิดผลข้างเคียงต่างๆ
ยาต้านโรคจิตจะไปปิดกั้นการทำงานของโดปามีนส่งผลให้มีอาการเคลื่อนไหว (extrapyramidal side
effects: EPS)
ผลข้างเคียงที่เปdนอันตรายถึงชีวิต ได้แก่ neuroleptic malignant syndrome (NMS) มักพบในผู้ที่
ได้รับยากลุ่มความแรงของยาสูง
การพยาบาลแก่ผู้ที่ได้รับยา
ติดตามประเมินผลข้างเคียงของการได้รับยาต้านโรคจิตอย่างต่อเนื่อง และให้การดูแลจัดการผลข้างเคียงที่
เกิดจากการได้รับยาต้านโรคจิต
หากผู้ป่วยมีปัญหาในการจดจำขนาดของการรับประทานยา พยาบาลควรแนะนำให้ผู้ป่วยใช้กระดาษ
หรือกระดานบันทึกการรับประทานยา หรือใช้้กล่องยาในการให้ใด้รับขนาดยาที่ถูกต้องในแต่ละวัน
ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาและผลข้างเคียงของยาต้านโรคจิตแก่ผู้ป่วยและญาต
ยาต้านโรคจิตกลุ่มเก่า เปmนยาที่ออกฤทธิ์ในการปãดกั้นการทำงานของตัวรับสัญญาณของโดปามีน
(dopamine D2 receptors) โดยจะออกฤทธิ์ต่อโดปามีนใน 4 เส้นทาง คือ
tuberoinfundibular tract เกี่ยวข้องกับการทำหน้าที่ของพิทูอิตารีซึ่งการทำหน้าที่ปิดกั้นของยาต้านโรค
จิตกลุ่มเก่าส]งผลให้ระดับของโปรแลคตินสูงขึ้น
mesolimbic tract เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางอารมณoและการรับรู้ ซึ่งการปิดกั้นโดปามีนของยาต้านโรค
จิตกลุ่มเก่าส]งผลในการลดอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอนและหลงผิด
nigrotriatal tract เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ซึ่งการปิดกั้นโดปามีนของยาต้านโรคจิตกลุ่มเก่าส]งผลให้เกิด
อาการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ (extrapyramidal side effects: EPS)
. mesocortical tract เกี่ยวช้องกับกระบวนการรู้คิด ซึ่งการปิดกั้นโดปามีนของยาต*านโรคจิตกลุ่มเก่าจะช]วย
ในการลดอาการการรู้คิดและอาการทางลบ
ยากลุ่มใหม่ (atypical antipsychotics)
ยาต
านโรคจิตกลุ]มใหม] เปmนยาที่ออกฤทธิ์โดยปãดกั้นการทำงานของตัวรับซีโรโตนีน โดปามีนและฮีสตา
มีนช]วยในการลดอาการทางจิตทั้งด
านบวกและด
านลบ และช]วยลดความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติของ
การเคลื่อนไหว (EPS แต]อย]างไรก็ตามยากลุ]มใหม]นี้ส]งผลให
เกิดโรคเมตาบอลิก เชน มีน้ำหนักตัวเพิ่ม น้ำตาล
และไตรกลีเชอไรดoในเลือดสูง
ยาต
านโรคจิตกลุ]มใหม]นี้ ได
แก] clozapine, risperidone, quetiapine, olanzapine, ziprasidone,
aripiprazole
ยาต้านโรคจิตยุคที่3 (third generation psychotics)
ยาคลายความวิตกกังวล (antianxiety drugs)
ยาคลายความวิตกกังวลที่ใช้บ้อย ได้แก้ กลุ้มยา benzodiazepines (BZD) ที่พบการใชเทั้งการรักษา
ในทางจิตเวชและในผู้ป่วยโรคทางกาย
การพยาบาล
ติดตามการใช้ยา และสังเกตอาการของการใช้เกินขนาด เช่น สับสน ง่วงนอน การตอบสนองของ
ร]างกายลดลง ความดันโลหิตต่ำ และให้การช่วยเหลือโดยการทำให้อาเจียนและการล่้างท้อง
การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา เป็นสิ่งสำคัญเพราะว่ายาสามารถนำไปใช้ในทางที่ผิดหรือไม่ถูกต้องได้
2) ยาต้านเศร้า (antiderpressant drugs)
. ยากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs)
เป็นยาที่ช่วยเพิ่มการตอบสนองของสาร
สื่อประสาทชีโรโตนิน บริเวณแลกเปลี่ยนสัญญาณประสาทมากขึ้น ยาต้านเศร้าเป็นยาที่มีประสิทธิผลในการ
รักษาโรคซึมเศร้า โรคตื่นตะหนก
ยาที่ใช้รักษา ได้แก] fuoxetine (prozac), sertraline (zoloft), paroxetine (paxil), citalopram
(celexa), escitalopram (lexapro), และ fluvoxamine (luvox)
การพยาบาลแก่ผู้ที่ได้รับยา
. บรรเทาอาการไม]สุขสบายที่เกิดจากผลข*างเคียงของยา เช่น คลื่นไส้อาเจียน มือสั่น หงุดหงิด เป็นต้น
แนะนำให้หลีกเสียงการใช*ยาในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดกลุ่มอาการซีโรโตนินในทารกแรกเกิด ได้แก่
การกดทางเดินหายใจ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ มือสั่น และน้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย
. ยากลุ่ม inhibition of enzymes (MAOIs)
เป็นยาไปปิดกั้นเอนไซด์ในการสังเคราะห์ นอร์อิพิเนฟฟิน ซี
โรโตนิน และ โดปามีน การปิดกั้นเอนไซด์จะส่่งผลให้เกิดการเพิ่มสารสื่อประสาทในระบบ
ยาที่ใชัรักษา ได้แก่ phenelzine (nardil) และ tranylcypromine (parnate) เป็นยาที่ดูดซึมได้ดีใน
ทางเดินอาหาร และถูกทำลายทางตับ
การพยาบาลแก่ผู้ที่ได้รับยา
ให้ความรู้เกี่ยวกับกรรับประทานยาและผลข้างเคียงของยาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
หากมีภาวะความดันโลหิตสูงระดับรุนแรง ควรหยุดยาและปรึกษาแพทยo และติดตามประเมินสัญญาณชีพ
ยากลุ่ม tricyclic antidepressants (TCA)
ยาที่ใช้รักษา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เพิ่มซีโรโตนินมากกว่านอร์อิพิเนฟฟิน ได้แก] amitriptyline
(elavil), imipramine (tofranil), clomipramine (anfranil)
หรือ nonselective inhibition of norepinephrine and
serotonin เป็นยาที่ไปปิดกั้นการคืนกลับของสารสื่อประสาท ได้แก่นอร์อิพิเนฟริน และซีโรโตนิน ซึ่งจะช่วย
เพิ่มสารสื่อประสาทเหล]านี้ในบริเวณแลกเปลี่ยนสัญญาณประสาทมากขึ
การพยาบาลแก่ผู้ที่ได้รับยา
ติดตามประเมินระดับของยาในเลือด และการเต้นของหัวใจ โดยระดับยาในเลือดของกลุ]ม TCA ที่ใช้ในการรักษา คือ 300 ng/ml แ
ดูแลบรรเทาความไม]สุขสบายจากผลข้างเคียงของการใช้ยา โดยผลต่อระบบประสาทส่วนปลาย เช่น
ปากแห้ง ตาแห้ง ตาพร่ามัว ปวดตา ปั{สสาวะไม่ออก ท้องผูก
ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาและผลข้างเคียงของยา
ยาปรับสมดุลอารมณ์ (antimanic drugs or mood stabilizers)
ลิเทียม (lithium) จัดเป็นการรักษามาตราฐานในการรักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว แต]ในภาพรวมยัง
ไม่มีความชัดจนในการอธิบายประสิทธิผลในการรักษาของยา
ผลข้างเคียงของยา จะประเมินจากระดับลิเทียมในเลือด หากมีปริมาณสูงกว่า 1.5 mEq/L จะเป็นระดับที่มี
พิษต่อร่างกาย
การพยาบาลแก่ผู้ที่ได้รับยา
เตรียมผู้ป่วยให้มีความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาและผลข้างเคียงของยาที่พบในแต่ละระดับของลิเทียมใน
เลือด
ดูแลให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายโดยลดผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้น เช่น คลื่นไส้ปากแห้ง ท้องเสีย กระหาย
น้ำ มือสั่น น้ำหนักเพิ่ม นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ
. ยากันชัก (anticonvulsants) เป็นยาที่นำมาใช้รักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เมื่อผู้ป่วย ไม่
ตอบสนองต่อลิเธียม
ได้แก่ยา valproate (Depakote), clabapentin (neurontin), lamotrigine (lamictal), และ
topiramate (topamax)
โดยยาจะส่งผลต่อการทำงานของ GABA และปิกั้นช่องทางของแคลเซียมและโซเดียม