พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
click to edit
ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2542 ประกาศ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2542
มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2542 รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการ
เกิดจากหมวด 5 มาตรา 81 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ (จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ)
หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมาย และหลักการ ( มาตรา 1 – 9 )
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
หมวดที่ 2 สิทธิ และหน้าที่ทางการศึกษา ( มาตรา 10 – 14 )
click to edit
มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้ อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การศึกษาสำหรับคนพิการ รัฐต้องจัดให้ตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลือ
บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ รัฐต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคล ( ความแตกต่างระหว่างบุคคล )
click to edit
มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และอื่น ๆ มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ( การศึกษาตามอัธยาศัย )
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการศึกษาบุตร
เงินอุดหนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อน หรือยกเว้นภาษี สำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
click to edit
มาตรา 8 หลักการจัดการศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้
เป็นการศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา ( มาตรา 15 – 21 )
มาตรา 15 ระบบการศึกษา มี 3 ระบบ
การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา
ของการศึกษา การวัดผล และประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่ แน่นอน
การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการ
ศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา
การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา (มาตรา 22 – 30) เป็นหัวใจของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ
click to edit
มาตราที่ 16 การศึกษาในระบบ มี 2 ระดับ คือ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้ไม่น้อยกว่า 12 ปี ก่อนอุดมศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา และระดับปริญญา
มาตรา 17 การศึกษาขั้นบังคับ จำนวน 9 ปี โดยเด็กอายุย่างเข้าปีที่ 7 เข้าเรียนในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ
click to edit
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จัดในสถานศึกษา ดังนี้
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เช่น ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรียน เช่น โรงเรียนรัฐ / เอกชน
ศูนย์การเรียน
มาตรา 22 การจัดการศึกษายึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ
มาตราที่ 23 จุดเน้นในการจัดการศึกษา ( ทั้ง 3 ระบบ )
ความรู้ คุณธรรม 2. กระบวนการเรียนรู้ 3. บูรณาการ ตามความเหมาะสม ดังนี้
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม รวมถึงประวัติความเป็นมาของสังคมไทย และระบอบการปกครอง
ความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
มาตรา 25 รัฐส่งเสริมการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดประเมินผู้เรียน ควบคู่กับกระบวนการเรียนการสอน ( โดยถือว่า
การประเมินผล เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา และเป็นหน้าที่ของสถานศึกษา )
มาตรา 27 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 30 สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมผู้สอนให้
สามารถวิจัย เพื่อพัฒนาผู้เรียน
หมวด 5 การบริหาร และการจัดการศึกษา ( มาตรา 31 – 46 )
ส่วนที่ 1 การบริหาร และการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง ที่เป็นองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภา จำนวน 4 องค์กร
สภาการศึกษา มีหน้าที่
พิจารณา เสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ กับการศึกษาทุกระดับ
พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
พิจารณาเสนอนโยบาย และแผน ในการสนับสนุนทรัพยากร เพื่อการศึกษา
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้ความเห็น และคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมาย และกฎกระทรวง
คณะกรรมการสภาการศึกษา ( จำนวน 59 คน )ประกอบด้วย ( ข้อสอบ )
ประธานกรรมการ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
กรรมการโดยตำแหน่ง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ผู้แทนคณะสงฆ์
ผู้แทนศาสนาอิสลาม
ผู้แทนศาสนาอื่น
ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่ากรรมการประเภทอื่นรวมกัน ( 30 คน )
เลขาธิการสภาการศึกษา เป็นกรรมการ และเลขานุการ ( เป็นนิติบุคคล )
click to edit
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ พิจารณา เสนอแผนพัฒนามาตรฐาน และ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย )
กรรมการโดยตำแหน่ง ( ปลัดกระทรวง / เลขาฯ สภา / เลขาฯ อุดมศึกษา / เลขาฯ อาชีวศึกษา / เลขาฯ คุรุสภา / ผอ.สำนักงบประมาณ / ผอ.สำนักสอนวิทย์ และเทคโนฯ / ผอ.สำนักรับรองมาตรฐาน และประกันคุณภาพ)
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ ( ไม่มีผู้แทนศาสนา )
ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่ากรรมการประเภทอื่นรวมกัน ( 12 คน และผู้แทนพระ 1 รูป )
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกรรมการ และเลขานุการ ( เป็นนิติบุคคล )
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ( ลักษณะคล้ายกันกับคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน )
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ( ลักษณะคล้ายกันกับคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน )
มาตรา 37 การบริหาร และการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึง
ปริมาณสถานศึกษา
จำนวนประชากร
วัฒนธรรม
ความเหมาะสมด้านอื่น ๆ
รัฐมนตรีกระทรวง โดยคำแนะนะของ สภาการศึกษา มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดเขตพื้นที่การศึกษา
click to edit
มาตรา 38 คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจในการ กำกับ ดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ( จำนวน 15 คน )ประกอบด้วย
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู
ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา
ผู้แทนสมาคมผู้ปกครอง และครู
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา เป็นกรรมการ และเลขานุการ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนครู
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนศิษย์เก่า
ผู้แทนพระภิกษุ/องค์กรศาสนาอื่น
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นกรรมการ และเลขานุการ
มาตรา 44 สถานศึกษาเอกชน เป็น นิติบุคคล
มาตรา 45 สถานศึกษาเอกชน มีสิทธิจัดการศึกษาได้ทุกระดับ
มาตรา 41 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิจัดการศึกษาได้ทุกระดับ
คณะกรรมการสถานศึกษาเอกชน ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน
ผู้รับใบอนุญาต
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนครู
ผู้แทนศิษย์เก่า ( ไม่มีผู้แทน องค์กรส่วนท้องถิ่น และ ศาสนา )
ผู้ทรงคุณวุฒิ
หมวดที่ 6 มาตรฐาน และการประกันคุณภาพทางการศึกษา ( มาตรา 47 – 51 )
มาตรา 47 ให้มีระบบประกันคุณภาพทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา
ทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก
click to edit
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายใน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
จัดทำรายงานประจำปีเสนอหน่วยงานต้นสังกัด / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เปิดเผยต่อสาธารณชน
มาตรา 49 ให้มี สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพทางการศึกษา มีฐานะเป็น
องค์กรมหาชน มีหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการ และทำการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อตรวจสอบ คุณภาพ ของสถานศึกษา อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี นับแต่ประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน
มาตรา 51 กรณีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ไม่ได้มาตรฐานให้ สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่กำหนด หากไม่ดำเนินการให้รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ( มาตรา 52 – 57 )
click to edit
มาตรา 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ ภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ มีอำนาจ ( ทำให้เกิด พ.ร.บ.สภาครู ฯ )
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ / ออก และเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำกับดูแลการ
ปฏิบัติตามมาตรฐาน และจรรยาบรรณของวิชาชีพ / พัฒนาวิชาชีพ
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐ และเอกชน
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ยกเว้น
บุคลากรที่จัดการศึกษา ตามอัธยาศัย
ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตการศึกษา
วิทยากรพิเศษทางการศึกษา
คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ในระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญา
หมวดที่ 8 ทรัพยากร และการลงทุน เพื่อการศึกษา ( มาตรา 58 – 62 )
มาตรา 59 บรรดาอสังหาริมทรัพย์ของสถานศึกษาของรัฐ ที่เป็นนิติบุคคลได้มา โดยมีผู้อุทิศให้หรือซื้อ แลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษาไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา ( ข้อสอบ )
บรรดารายได้ และผลประโยชน์ต่าง ๆ ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลัง ให้จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาได้
หมวดที่ 9 เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ( มาตรา 63 – 69 )
มาตรา 63 รัฐต้องจัดคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ โครงสร้างพื้นฐานอื่น ที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษา
มาตรา 64 รัฐส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต และพัฒนาแบบเรียน โดนเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
บทเฉพาะกาล ( มาตรา 70 – 78 )
มาตรา 70 บรรดา กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ใช้บังคับอยู่ ให้ใช้ต่อไป แต่ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่ พ.ร.บ. นี้บังคับใช้
มาตรา 72 ห้ามมิให้ใช้ มาตรา 10 ( การศึกษาพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ) มาบังคับใช้ จนกว่าจะมีการดำเนินการให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. แต่ต้องไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่รัฐธรรมนูญบังคับใช้
ภายใน 6 ปี นับแต่วันที่ พ.ร.บ.นี้บังคับใช้ ให้มีการประเมินภายนอกทุกแห่ง ( 2548 )
มาตรา 75 ให้จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปทางการศึกษา เป็น องค์กรมหาชนเฉพาะกิจ
มาตรา 76 คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา จำนวน 9 คน
มีวาระดำรงตำแหน่งวาระเดียว 3 ปี เมื่อครบแล้วยุบตำแหน่ง และสำนักงาน