Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านมะเร็ง/ยาเคมีบําบัด Antineoplastic agents (Cytotoxic drugs) …
ยาต้านมะเร็ง/ยาเคมีบําบัด
Antineoplastic agents (Cytotoxic drugs)
Chemotherapeutic drugs
วิธีการให้เคมีบำบัด
Neoadjuvant Chemotherapy
เป็นการให้เคมีบำบัดอันดับแรกในการรักษาก่อนที่จะรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ในผู้ป่วยที่เป็นเฉพาะที่
Induction Chemotherapy
เป็นการให้เคมีบำบัดอันดับแรกในผู้ป่วย advanced disease มักใช้รักษามะเร็งของเม็ดเลือดขาว
Adjuvant Chemotherapy
ให้หลังการรักษาเฉพาะที่แล้ว เช่น การผ่าตัดหรือรังสีรักษา
Palliative Chemotherapy
เป็นการให้เคมีบำบัดเพื่อทุเลาอาการในผู้ป่วยมะเร็งที่เป็นมากและรักษาไม่หายขาด
Concomittent Chemoradiation
เป็นการให้เคมีบำบัดร่วมกับรังสีรักษา
Locoregional Chemotherapy
เป็นการให้เคมีบำบัดเฉพาะที่ไปยังส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายที่เป็นมะเร็ง
Salvage Chemotherapy
สำหรับผู้ที่เป็นโรคกลับเป็นซ้ำหรือรักษาไม่ได้ผลด้วยยาชนิดอื่น
วงจรของ Cell
G0 phase (resting stage)
เป็นระยะพัก เซลล์ยังไม่มีการแบ่งตัวและใช้เวลาส่วนมากอยู่ในระยะนี้
G1 phase (post mitotic phase)
เริ่มมีการสังเคราะห์โปรตีน RNA และเพิ่มขนาดของเซลล์
S phase (DNA synthetic phase)
มีการเพิ่มจำนวน DNA เป็น 2 เท่า ที่มีลักษณะเหมือนกัน เพื่อแบ่งให้เซลล์ 2 เซลล์ที่เกิดใหม่
G2 phase (post synthetic phase)
เป็นช่วงที่ตรวจเช็คความผิดปกติของ DNA เพื่อเตรียมความพร้อมในการแบ่งเป็นเซลล์ 2 เซลล์
M phase (mitotic phase)
เป็นระยะที่เซลล์มีการแบ่งตัว
Antimetabolites
Folic acid analogues/Antifolates
Methotrexate
ออกฤทธิ์ยับยั้งที่ระยะ s ขัดขวางการสร้าง Purine และ Pyrimidine โดยยับยั้งการทำงานของ dihydrofolate reductase(DHFR) ที่ใช้ในการเปลี่ยน folic acid ให้กลายเป็น tetrahydrofolic acid
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษของยา
ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร กดไขกระดูก เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดลดลงทำให้แท้งและเด็กในครรภ์พิการได้ ผมร่วง ผิวหนังอักเสบ พิษต่อไต ยากลุ่มนี้ทำให้เกิดอาการ
folate deficiency ในเซลล์ปกติ
แก้ไขโดยการให้ Leucovorin ร่วมด้วย
ใช้รักษา
มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งกระดูก รังไข่ กระเพาะปัสสาวะ เต้านม
Purine analogues
Mercaptopurine (6-MP)
ใช้รักษา
acute lymphoblastic leukemia , acute myeloblastic anemia
กลไกการออกฤทธิ์
เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลงโดยเอนไซม์ Hypoxantine Guanine Phosphoribosyl Transferase (HGPRT) ได้สารพวก ribonucleotide ซึ่งยับยั้งการสังเคราะห์ purine ทำให้การสร้าง purine หยุดชะงัก
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษของยา
กดไขกระดูก ในขนาดยาที่สูงจะทำให้เกิด leucopenia thrombocytopenia อาจมีอาการคลื่นไส้และปวดบริเวณลิ้นปี่ร่วมด้วย
การดื้อยา
ทำให้มีระดับของ HGPRT ลดลง เพิ่มการทำงานของ alkaline phosphatase ทำให้ยาเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์
Pyrimidine analogues
Fluorouracil (5-FU) , Cytosine arabinoside , Fludarabine
ใช้รักษามะเร็งเต้านม มะเร็งในระบบทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
Fluorouracil (5-FU) มีสูตรโครงสร้างคล้าย Uracil ออกฤทธิ์โดยตรงต่อวงจรชีวิตของเซลล์ที่ระยะ s
การดูดซึมและการขับออกจากร่างกาย
5-FU จะดูดซึมได้ดีเมื่อฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 80% ของยาที่ถูกทำลายที่ตับและขับออกทางปัสสาวะ
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษของยา
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปากเป็นแผล ลิ้นอักเสบ ผมร่วง เม็ดเลือดขาวต่ำ ผิวหนังมีสีเข้มขึ้น
Antibiotics
Actinomycin D , Bleomycin , Mitomycin D
มีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
ฤทธิ์ไม่เฉพาะเจาะจงต่อวงจรชีวิตของเซลล์
ยาทำให้เกิด free radical ที่เป็นพิษต่อเซลล์และทำให้เซลล์ตายในที่สุด
กลไกการออกฤทธิ์
เข้าจับ polynucleotide แทรกระหว่างคู่เบสของ DNA และป้องกันการสังเคราะห์ polynucleotide ตัวใหม่ และยังทำให้สาย DNA มีการเรียงลำดับเบสในสายผิดปกติทำให้ขาดเป็นท่อนๆ ชักนำให้เซลล์เกิดการตาย
การดูดซึมและการขับออกจากร่างกาย
ให้ทางหลอดเลือดดำไม่ผ่านเข้าสู้สมอง ถูกทำลายที่ตับและส่วนใหญ่ขับออกทางน้ำดี
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษของยา
Doxorubicin จะทำให้เกิด Cardiomyopathy มีทั้งพิษเฉียบพลันและเรื้อรังที่ทำให้เกิด Arrhythmia , CHF และกดไขกระดูก
Bleomycin ควรระวังการให้ยาในครั้งแรกเพราะมีโอกาสแพ้ยาอย่างรุนแรง เสียชีวิตและมีพิษต่อปอด
Alkylating agents
ยาที่ใช้มากในมะเร็งนรีเวช
Nitrogen mustards
Cyclophosphamide(ฉีดและกิน)
ยาไม่มีผลกับเซลล์ดี , ออกฤทธิ์ช้ากว่า
Chlorambucil เป็นยาที่ใช้ในการรักษามะเร็งเม็ดเลือด
Melphalan รักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัลติเพิลมัยอิโลมา (multiple myeloma) หรือโรคมะเร็งรังไข่
Ifosfamide รักษาโรคมะเร็งได้หลายชนิด
Mechlorethamine(ฉีด)
รักษาอาการของโรคมะเร็งหลายชนิด
รักษาเฉพาะอาการของโรคมะเร็ง แต่ไม่ได้รักษาโรคมะเร็งเอง
Antimetabolites
รบกวนการเจริญเติบโตของ DNA และ RNA
เข้าไปทำลายในระยะ S phase ของ cell cycle
5-Fluorouracil(5-FU) ,Gemcitibine ,
Hydroxyurea , Methotrexate
ขัดขวางขบวนการสร้าง nucleic acid
การตอบสนองของเซลล์มะเร็งต่อยารักษามะเร็ง
ขนาดของเซลล์มะเร็ง ในระยะแรกเริ่มจะน้อยและการรักษาด้วยยาจะได้ผลดี
ชนิดและลักษณะของมะเร็ง , ตำแหน่งของมะเร็ง
ปัจจัยต่างๆ
อายุ เพศ เชื้อชาติ สภาวะทางร่างกายและจิตใจ
สภาวะทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การดื้อยา
ผลของยาต่อเซลล์ปกติ
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เยื่อบุช่องปากอักเสบ
กระเพาะอาหารอักเสบ ลำไส้อักเสบ
ผลต่อระบบผิวหนังและรูขุมขน
ผมร่วง ผิวหนังจะมีสีเข้ม หยาบขึ้น ผิวหนังอักเสบ เล็บอักเสบ
เซลล์ระบบสืบพันธุ์
ในเพศชายทำให้เป็นหมัน
ในเพศหญิงทำให้ไม่มีประจำเดือน
Hormonal agents
จะมี receptor ของฮอร์โมนมาพอ
มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งรังไข่และมะเร็งเม็ดเลือดขาว
กลไกการออกฤทธิ์
ส่วนใหญ่เป็น Steroid Hormones โดยจะให้ผลต่อต้านมะเร็งที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจงและทำให้การเติบโตเปลี่ยนแปลงการสังเคราะห์ RNA และ Protein receptor หรือยับยั้งการหลั่ง hormones อื่นๆ
Estrogens (Diethystilbestrol , Ethinylestradiol)
ใช้รักษามะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก
Androgens หรือ Testosterone
(Halotestin , Testolactone)
ใช้รักษามะเร็งเต้านม
Progesterones(Progestin , Magestrol acetate)
ใช้รักษามะเร็งรังไข่
Adrenal steroid (Prednisolone , Dexamethasone)
Estrogen antagonist
ใช้รักษามะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก
Antiandrogens
ใช้รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
Gonadotropins
ข้อบ่งชี้การรักษาเสริม
Tamoxifen
ในผู้ป่วย invasive carcinoma ที่มี hormone receptor เป็นบวก (ER and/or PR-positive)
อาจพิจารณาให้ในผู้ป่วย ductal carcinoma in situ (DCIS) ที่มี hormone receptor เป็นบวก (ER and/or PR positive)
ยากลุ่ม Aromatase Inhibitors (AI) (letrozole)
ให้ในผู้ป่วยที่หมดประจำเดือนที่มีผล Hormone receptor เป็นบวก(ER and/or PR-positive)
หากจำเป็นต้องใช้ AI ควรให้แบบ sequential
Miscellaneous
Monoclonal antibody
สร้าง Antibody จาก Tratuzumab เป็น Humanized mAb ชนิดเเรกที่มีฤทธิ์เลือกเฉพาะต่อ membrane ของเซลล์มะเร็ง ใช้ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
Hydroxyurea
อนุพันธ์ของ urea ทำให้มีการสร้าง DNA ลดลง ออกฤทธิ์ที่ระยะ S-phase
L-asparagenase
เป็นยาพวกเอนไซม์ที่เปลี่ยนกรดอะมิโน asparagine เป็น aspartic acid
Procarbazine HCL
ทำปฏิกิริยากับ DNA มีผลยับยั้งการสร้าง DNA RNA และ Protein
Interferons
Immunotheapy
มะเร็งผิวหนังชนิด malignant melanoma มะเร็งของไตหรือมะเร็งของตับ ตอบสนองต่อเคมีบำบัดน้อยมาก
การรักษา
ทำให้เกิดการทำลายเซลล์มะเร็งด้วยการกระตุ้นให้เกิดกลไกทางอิมมูนของร่างกาย
Immunomodulating agents
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ยาที่มีผลกดภูมิคุ้มกัน(immunosuppressive agents)
ยาที่มีผลเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย(immunizing agents)
ยาที่มีผลกดภูมิคุ้มกัน(immunosuppressive agents)
ใช้ป้องกันและทำลายภูมิคุ้มกันที่ร่างกายไม่ต้อการ เช่น organ transplantation , ใช้รักษาภาวะภูมิคุ้มกันต้านตนเอง
ยากดภูมิต้านทานตัวใหม่ เช่น TNF inhibitor , IL-1 receptor antagonist
Cyclosporine A
ยาอันดับแรกที่ใช้ในการป้องกันการปฏิเสธเนื้อเยื่อที่ทำการปลูกถ่าย
ผลข้างเคียง คือ มีพิษต่อไต อาจทำให้ระดับของน้ำตาล ความดัน ไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น การทำงานของตับผิดปกติ
ไม่มีผลกดการทำงานของไขกระดูกจึงเกิดการติดเชื้อได้น้อยสุดต้องให้เป็นเวลานาน
Azathioprine
มีฤทธิ์ในการกดภูมิคุ้มกันและต้านการอักเสบ
ผลข้างเคียง คือ กดการทำงานของไขกระดูก เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าให้ยาขนาดสูงมีผลต่อตับ เกิดการติดเชื้อได้สูง
Cortitosteroids
ยาที่นิยมใช้ ได้แก่ methylprednisolone และ prednisolone
กดการทำงานของเม็ดเลือดขาว ยับยั้งการสร้าง cytokine ต่างๆ ลดการอักเสบ
ถ้าใช้เป็นเวลานานเนื่องจากกดการทำงานของต่อม adrenal เกิดภาวะติดเชื้อได้สูง
รักษาภาวะต้านภูมิคุ้มกันตนเอง การใช้จะเริ่มในขนาดสูงในระยะแรกจากนั้นจะค่อยๆลดขนาดของยาลง
ข้อบ่งใช้ในการปลูกถ่ายอวัยวะ
. รักษาโรคภูมิคุ้มกันทําลายตัวเอง/Autoimmune diseases
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์(Rheumatoid arthritis)
โรคโครห์น (Crohn's disease)
โรคสะเก็ดเงิน(Psoriasis)
โรคลูปัสหรือโรคเอสแอลอี(Lupus, SLE, Systemic lupus erythematosus)
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง(Multiple sclerosis)
ภาวะร่างกายต้านเม็ดเลือดแดงตนเอง(Autoimmune hemolytic anemia)
ใช้รักษาโรคมะเร็ง
มะเร็งต่อมนํ้าเหลือง(Lymphoma)
มะเร็งเต้านม (Breast cancer)
มะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia)
มะเร็งศีรษะและลําคอ
มะเร็งลําไส้ใหญ่(Colon cancer)
ภูมิคุ้มกันบําบัด (Immunotherapy)
ภูมิคุ้มกันบำบัดแบบไม่จำเพาะ(Non-specific Immunotherapy)
ภูมิคุ้มกันบําบัดแบบ Monoclonal Antibody
ภูมิคุ้มกันแบบใช้ไวรัสรักษามะเร็ง(Oncolytic Virus Therapy)
ภูมิคุ้มกันบำบัดแบบใช้วัคซีนโรคมะเร็ง(Cancer Vaccines)
ภูมิคุ้มกันบำบัดรักษาโดยใช้ที-เซลล์บำบัด(T-cell Therapy)
นางสาวภัชชญา โชชัญยะ ปี 2 เลขที่ 52
รหัสนักศึกษา 64126301053