Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
หมวด 1 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 7 ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า คุรุสภา มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพรบ.นี้ และมีสถานะเป็นนิติบุคคล
มาตรา 8
คุรุสภามีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
1.กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
มาตรา 9
คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
2.ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพ
3.ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชชีพ
4.พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
5.สนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพ
6.ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประอบวิชาชีพทางการศึกษา
7.รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
8.รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ
9.ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
10.ออกบังคับของคุรุสภา
มาตรา 10
คุรุสภาอาจมีรายได้ ดังนี้
1.ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครองในทรัพย์สิน
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
3.ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการของคุรุสภา
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อุทิศให้แก่คุรุสภา
5.ดอกผลของเงินและทรัพยืสินตาม (1) (2)(3) และ (4)
มาตรา 11
ค่าธรรมเนียมตามพรบ.นี้ ให้เป็นไปตามประกาศของรัฐมนตรี
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 12
ให้มีคณะกรรมการหนึ่่่งเรียกว่า คณะกรรมการคุรุสภา ประกอบด้วย
ประธานกรรมการ
2.กรรมการโดยตำแหน่ง
3.กรรมการผู้วุฒิจำนวน 7 คน
4.กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์
5.กรรมการจากผู้ปรกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา13
ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(ก)คุณสมบัติทั่วไป
(ข)ลักษณะต้องห้าม
มาตรา 14
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังนี้
1.เป็นผู้มีใบอนุญาตและไม่เคยถูกพักสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามพรบ.นี้
2.เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือดำรงตำแหน่งอาจารย์
3 หรือมีวิทยาฐานะเป็นครูชำนาญการขึ้นไป
มาตรา 15
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นต้องมีคุณสมบัติเฉพาะมาตรา 14 (1) และต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษาหรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น รวมกันไม่น้อยกว่า 10 ปี
มาตรา 16
กรรมการตามมาตรา 12 (1) (3)(4)และ(5) ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งเกิน 2 สองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา 17
นอกจากการพ้นตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี
มาตรา 18
ก่อนครบวาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการตามาตรา 12 (1) (3) (4)และ (5) ไม่น้อยกว่า 90 วัน ให้รมต.แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณหนึ่งจำนวน 11 คน คณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 (2) จำนวน 5 คน และจากผู้แทนสมาควมวิชาการหรือวืชาชีพ ด้านการศึกษาที่เป็นนิติบุคคล เลือกกันเองจำนวน 6 คน ทำหน้าที่ สรรหาบุคคลที่สมควรเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของกรรมการคุรุสภา
มาตรา 19
ในกรณีกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 (1) และ (31) พ้นจากตำแหน่งก่อนครอบวาระ ให้ครม.แต่งตั้งผู้อื่นซึ่งได้รับการสรรห่าในลำดับถัดไปดำรงแหน่งแทนก็ได้และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวารที่เหลืออยุ่ของผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งไว้แล้ว
มาตรา 20
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1.บริหารและดำเนินการตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของคุรุสภาซึ่งกำหนดไว้ในพรบ.นี้
2.ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมาตรา 54
4.เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ หรือคณกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด
5.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
6.ควบคุมดูแลการดำเนินงานและการบริหารงานทั่วไป
7.กำหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห้นชอบแผนการดำเนินงานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
8.ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
9.พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
ส่วนที่ 3 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 21
ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
1.ประธานกรรมการซึ่งรัฐมานตรี แต่งตั้งจากกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในคณะกรรมการคุรุสภา
2.กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3.กรรมการผุ้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน
4.กรรมการจากคณาจารย์ในคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ หรือการศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน ซึ่งเลือกกันเองจำนวน 2 คน
5.กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวน 6 คน ซึ่งเลือกตั้งมาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูที่มีประสบการณ์ด้านการสอนไม่น้อยกว่า 10 ปีหรือดำรงตำแหน่งอาจารย์ 3 หรือมีวิทยฐานะเป็นครูชำนาญการขึ้นไป
มาตรา 22
การสรรหา การเลือก และการเลือกตั้งกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 21 (3)(4)และ(5)ให้เป็นไปตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 23
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 21 () () () และ () ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 13 มาตรา 14 และมาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 24
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 21 (1) (3) (4) และ (5) ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา 25
คณะกรรการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1.พิจารณาการออกใบอนุญาต การพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
2.กำกับดูแลปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ
ส่งเสริม ยกย่อง และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณ
4.ส่งเสริม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ
5.แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด
7.พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภา
ส่วนที่ 4 การดำเนินงานคุรุสภา
มาตรา 26
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา 27
ในการประชุม ถ้าประธานกรรมการคุรุสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่่งเป็นประธานในที่ประชุม
มาตรา 28
รัฐมนตรีเข้าร่วมประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคระกรรมการคุรุสภา หรือจะส่งความเป็นหนังสือไปยังคุรุสภา
มาตรา 29
ให้นำความในมาตรา 26 และมาตรา 27 มาบังคับกับการประชุมของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรือคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 30
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรบนี้ ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมการประกอบวิชาชีพเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 31
ให้คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจบุคคลใดๆมาให้ถ้อยคำหรือแจ้งให้บุคลใดๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยาน ต้องระบุด้วยว่าจะให้มาให้ถ้อยคำหรือแจ้งให้บุคคลใดๆส่งเอกสารหรือวัตถพยานที่จำเป็นต่อการดำเนินงานตามอำนาจและหน้าที่
มาตรา 32
ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการและคณะทำงานได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด
มาตรา 33
กรรมการคุรุสภา จะดำรงตำแหน่งแล้วแต่กรณีในคราวเดียวกันไม่ได้
มาตรา 34
ให้มีสำนักวิชาการคุรุสภามีหน้าที่ 1.รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภา 2.ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย 3.จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการดำเนินงานเสนอต่อคุรุสภา
มาตรา35
ให้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา มีเลขาธการคุรุสภาคนหนึ่งบริหารกิจการของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
มาตรา 36
เลขาธิการคุรุสภาต้องเป็นผู้สามารถทำงานให้แก่สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ เต็มเวลา
มาตรา 37
เลขาธิการคุรุสภามีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่ง2วาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา 38
นอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระ เลขาธิการคุรุสภาพ้นจากตำแหน่ง
1.ตาย
2.ลาออก
3.มีความประพฤติเสื่อมเสีย
4.กรณีที่กำหนดไว้ในข้อตกลงระหว่างกับเลขาธิการคุรุสภา
มาตรา 39
เลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
มาตรา 40
เลขาธิการคุรุสภา มีอำนาจดังนี้ 1.บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 41
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคลากรภายนอก ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็นผู้แทนของคุรุสภา
มาตรา 42
ให้คณะกรรมการคุรุสภาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น
ส่วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา 43
ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุมตามพรบ.นี้
มาตรา 44
ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 45
การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต การกำหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบอนุญาต และการออกใบแทนอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในข้อคับของคุรุสภา
มาตรา 46
ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตยมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจาคุรุสภา
มาตรา 47
ผู้ซึ่่งได้รับอนุญาตวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไข ตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 48
ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตต้องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 49
ให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
1.มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
2.มาตรฐานการปฏิบัติงาน
3.มาตรฐานการปฏิบัติตน
มาตรา 50
มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ ประกอบด้วย
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง
2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
4.จรรยาบรรณ
5.จรรยาบรรณต่อสังคม
มาตรา 51
บุคลากรซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้รับใบอนุญาต มีสิทธิกล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อคุรุสภา
มาตรา 52
เมื่อคุรุสภาได้รับเรื่องการกล่าวหารือการกล่าวโทษตามมาตรา 51 ให้เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องดังกล่าว
มาตรา 53
ให้ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งสำเนาเรื่อง
มาตรา 54
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีอำนาจวินิจฉัย
1.ยกข้อกล่าวหา
2.ตักเตือน
3.ภาคทัณฑ์
4.พักใช้ใบอนุญาต แต่ไม่เกิน 5ปี
5.เพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 55
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา 56
ห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งอยู่ในระหว่างถูกพักใช้ใบอนุญาต
มาตรา 57
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นขอไม่ได้
ส่วนที่ 6 สมาชิกคุรุสภา
มาตรา 58
สมาชิกของคุรุสภามี 2 ประเภท ดังนี้
1.สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา 59
สมาชิกสามัญต้องเป็นผู้ไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 60
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ มีดังต่อไปนี้
1.แสดงความเห็นและซักถามเป็นหนังสือ
2.เลือกรับเลือกตั้งหรือรับแต่งตั้ง
3.ชำระค่าธรรมเนียม ตามประกาศของคุรุสภา
4.ผดุงไว้ซึ่งเกียรติแห่งวิชาชีพ และปฏิบัติตามพรบ.นี้
มาตรา 61
สมาชิกภาพของสมาชิกย่อมสิ้นสุดเมื่อ
1.ตาย
2.ลาออก
3.คณะกรรมการคุรุสภามีมติให้พ้นจากสมาชิก
4.คณะกรรมการคุรุสภามีมติถอดถอนการเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
5.ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 2 คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 62
ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 63
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 64
ให้คณะกรรมการสางเสริมการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน
2.กรรมการโดยตำแหน่ง
3.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
4.กรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา 65
กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 66
การประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรการศึกษา
มาตรา 67
ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 68
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูบุคลากรทางการศึกษามีรายได้ดังต่อไปนี้
1.เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
เงินค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ
3.เงินผลประโยชน์ต่างๆจากการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์
เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่นรวมทั้งจากต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศและเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการของสำนักงานและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
6.ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตามรายได้ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสันติภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลั่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
มาตรา 69
ให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีเลธิการคนหนึ่งบริหารกิจการของสำนักงาน
มาตรา 70
เลขาธิการคณะกรรมส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องเป็นผู้สามารถทำงานได้เต็มเวลาและต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 71
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา 72
เลขาธิการคณกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสคิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีอำนาจดังนี้
1.บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง
2.วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเนินงาน
มาตรา 73
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการคระกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวีสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้แทน
มาตรา 74
ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่น
หมวด 3 การกำกับดูแล
มาตรา 75
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
กำกับดูแลการดำเนินงาน
2.ส่งเป็นหนังสือให้กรรมการชี้แจ้งข้อเท็จจริง
3.สั่งเป็นหนังสือให้คุรุสภา
มาตรา 76
ให้คุรุสภาเสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลดำเนินงานด้านต่างๆของคุรุสภา
มาตรา 77
ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชีของคุรุสภาเป้นประจำปี แล้วรายงานให้รัฐสภาทราบ
หมวด 4 บทกำหนดโทษ
มาตรา 78
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 43 ต้องวางโทษจำคุกไม่เกิน 10,000 บาท ทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 79
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 46 หรือมาตรา 56 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 80
ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเท่าที่มีอยู่ตาม พระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริม สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อนและให้รัฐมนตรี แต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง มีหน้าที่ดำเนินการให้ได้มาซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 และ คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 64 ภายในหนึ่งร้อย แปดสิบวันประกอบด้วย
ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวนห้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ สภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคนจากผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง ในด้านการศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกฎหมาย ด้านละหนึ่งคน
3.ผู้แทนสมาคมวิชาชีพด้านการศึกษาที่เป็นนิติบุคคล ซึ่งเลือกกันเองจำนวนห้าคน ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และเลือกกรรมการอีกคนหนึ่งเป็นเลขานุการของคณะกรรมการ
มาตรา 81
ให้คณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 14 ดำเนินการให้มีการแต่งตั้งเลขาธิการคุรุสภาและ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาภายในสามสิบวันนับ แต่วันที่คณะกรรมการคุรุสภา และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ ศึกษาได้รับการแต่งตั้ง
มาตรา 82
ให้เลขาธิการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ปฏิบัติหน้าที่ เลขาธิการคุรุสภา และเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และให้รองเลขาธิการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ปฏิบัติหน้าที่รองเลขาธิการคุรุสภา และรองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ไปก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งเลขาธิการตาม
มาตรา 83
ให้โอนบรรดากิจการ เงิน ทรัพย์สิน หนี้ สิทธิต่างๆ ของคุรุสภาตาม พระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ดังนี้
องค์การค้าของคุรุสภาและส่วนการลงทุนหรือสวัสดิการไปเป็นของสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่นอกเหนือจาก (1) ไปเป็นของคุรุสภา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ให้มีการปรับปรุงการบริหารจัดการขององค์การค้าของคุรุสภาให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงและมีประสิทธิภาพสามารถแข่งขันอย่างเสรีได้
มาตรา 84
ผู้ใดเป็นครูซึ่งเป็นสมาชิกของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 อยู่แล้วก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มีสิทธิได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ หลักเกณฑ์และวิธีการออก ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูให้เป็นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา บทบัญญัติมาตรา 43 ยังมิให้นำมาใช้บังคับจนกว่าคุรุสภาจะออกข้อบังคับกำหนด หลักเกณฑ์การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
มาตรา 85
ในวาระเริ่มแรก ให้คุรุสภาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูแก่ผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา อื่น และภายในสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้มีการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามข้อบังคับของคุรุสภา ทั้งนี้ ให้ผู้ปฏิบัติงาน ในตำแหน่งดังกล่าวมีสิทธิได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 86
ในวาระเริ่มแรก มิให้นำความในมาตรา 14 (1) มาใช้บังคับแก่กรรมการคุรุสภา และกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาจนกว่าคุรุสภาจะออกใบอนุญาต
มาตรา 87
ในวาระเริ่มแรกของการเลือกกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะครุศาสตร์ หรือการศึกษา ให้เลือกผู้แทนจำนวนสี่คนจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน จนกว่าจะมี สถาบันอุดมศึกษาเอกชนครบจำนวนสามแห่ง จึงจะเลือกผู้แทนตามบทบัญญัติมาตรา 12 (4)
มาตรา 88
ให้วุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กำหนดให้เป็นคุณวุฒิที่ใช้ ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นคุณวุฒิในการขอรับ ใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา 89
ให้สมาชิกคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ที่ได้รับสิทธิ ประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ อยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ นั้นๆ ต่อไป
มาตรา 90
ในระหว่างที่ยังมิได้ออกคำสั่ง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้นำคำสั่ง ประกาศ หรือระเบียบที่ออกตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ซึ่งไม่ ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับโดยอนุโลม